ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทรุปราคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9159149 สร้างโดย 171.101.217.158 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 6:
== มาตราดังชง ==
[[André-Louis Danjon|อองเดร ดังชง]]คิดค้นมาตราต่อไปนี้ (เรียก [[มาตราดังชง]]) เพื่อจัดความมืดโดยรวมของจันทรุปราคา<ref>{{cite web | title = Observing and Photographing Lunar Eclipses | url = http://skytonight.com/observing/objects/eclipses/3304036.html | last = Paul Deans and Alan M. MacRobert | publisher = Sky and Telescope}}</ref>
:'''L=40''': อุปราคามืดมาก แทบมองไม่เห็นดวงจันทร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลางคราสเต็มดวง (mid-totality)
:'''L=31''': อุปราคามืด มีสีเทาหรือออกน้ำตาล แยกแยะรายละเอียดได้ยาก
:'''L=2''': อุปราคาสีแดงเข้มหรือสนิม เงากลางมืดมาก ขณะที่ขอบนอกของอัมบราค่อนข้างสว่าง
:'''L=13''': อุปราคาสีแดงอิฐ เงาอัมบราปกติมีขอบสว่างหรือสีเหลือง
:'''L=04''': อุปราคาสีแดง-ทองแดงหรือส้มสว่างมาก เงาอัมบราสีออกน้ำเงินและขอบสว่างมาก
 
== ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ==
เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทร์ไม่ได้หายไปจนมืดทั้งดวง แต่จะเห็นเป็นสีแดงอิฐ เนื่องจากมีการหักเหของแสงอาทิตย์เมื่อส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้
:* ระดับ 40 ดวงจันทร์มืดจนแทบมองไม่เห็น
:* ระดับ 31 ดวงจันทร์มืด เห็นเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลแต่มองไม่เห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์
:* ระดับ 2 ดวงจันทร์มีสีแดงเข้มบริเวณด้านในของเงามืด และมีสีเหลืองสว่างบริเวณด้านนอกของเงามืด
:* ระดับ 13 ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสว่างบริเวณขอบของเงามืด
:* ระดับ 04 ดวงจันทร์สว่างสีทองแดงหรือสีส้ม ด้านขอบของเงาสว่างมาก
<gallery>
ไฟล์:Lunar-eclipse-09-11-2003.jpeg|จันทรุปราคาเต็มดวง (ระดับ 04)
ไฟล์:Evnt UmbrelMoon40307 02.JPG|จันทรุปราคาเต็มดวง (ขณะเริ่มสัมผัส) เช้ามืดวันที่ [[4 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
ไฟล์:Evnt UmbrelMoon40307 01.JPG|จันทรุปราคาเต็มดวง ระดับ 40 เช้ามืดวันที่ [[4 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2550]] มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
ไฟล์:December December_2009 lunar eclipse_lunar_eclipse.jpg|จันทรุปราคาบางส่วน เช้ามืดวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2553]] เวลา 02.55 น. มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
ไฟล์:December 2009 partial lunar eclipse.jpg|จันทรุปราคาบางส่วน เช้ามืดวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2553]] จาก[[ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์]] ขณะที่[[เงามืด]]เข้าไปใน[[ดวงจันทร์]]ลึกที่สุด
ไฟล์:Lunar eclipse-Bangkok-10Dec2011.jpg|ภาพชุดจันทรุปราคาเต็มดวงในไทย มองจากกรุงเทพมหานคร เมื่อคืนวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2554]] ระหว่างเวลา 19.46-20.57 น.
</gallery>
[[ไฟล์:จันทรุปราคา.gif|800px|thumb|ภาพขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง]]