ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธมิตรชานม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sunday2544ss (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มส่วนเบื้องหลัง ส่วนลำดับเหตุการณ์ และกล่องแม่แบบ
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เฟส" → "เฟซ" ด้วยสจห.
บรรทัด 16:
 
== เบื้องหลัง ==
{{external media|width=200px|image1=[https://www.facebook.com/milktealogy/photos/a.285670224923900/1565079146982995 พันธมิตรชานม Milk Tea Alliance memes published จากเพจเฟสบุ๊คเฟซบุ๊ค "奶茶通俗學 Milktealogy"]<ref name="standnews-2020-04-16" />}}
ในเดือนเมษายนปี 2563 [[วชิรวิชญ์ ชีวอารี|ไบรท์ วชิรวิชญ์ ชีวอารี]] พิธีกรและ[[นักแสดง]]ชายชาวไทย ในซีรีส์ เรื่อง [[เพราะเราคู่กัน 2gether The Series]] ซึ่งได้รับความนิยมในประเทศจีนได้โพสต์ภาพบนทวิตเตอร์ซึ่งระบุว่าฮ่องกงเป็น "ประเทศ" หลังจากนั้นผู้วิจารณ์ทางอินเทอร์เน็ตชาวจีนได้โจมตีเขาและเรียกร้องให้มีการคว่ำบาตรการแสดงของเขา  ไบรท์ขอโทษและเอารูปไปลง แต่ชาวเน็ตจีนค้นพบโพสต์ของแฟนสาวของเขาบนไอจี New Weeraya Sukaram เมื่อปี 2560 ที่ระบุว่าไต้หวันเป็นประเทศเอกราช จึงทำให้การโจมตีทวีคูณขึ้น <ref name="Vice 2020" />
 
Pallabi Munsi เขียนในสื่อต่างประเทศ [https://en.m.wikipedia.org/wiki/OZY_(media_company) OZY] อธิบายว่าพันธมิตรชานมได้พูดถึง [https://en.m.wikipedia.org/wiki/50_Cent_Party 50 Cent Party]”(วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ) หรือเปรียบเป็นพรรค 50 เซ็นต์ (สกุลเงิน) ที่อ้างว่ามาจากการจ้างจากทางการของ[[ประเทศจีน|สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เพื่อพยายามบิดเบือนความคิดเห็นของประชาชนเพื่อประโยชน์ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน|พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] และ [https://en.m.wikipedia.org/wiki/Little_Pink Little Pink] (วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ) ซึ่งเป็นคำที่ใช้อธิบายกลุ่มวัยรุ่นจีนที่คลั่งไคล้อินเทอร์เน็ตว่าในฐานะ "กองทัพอาสาสมัครของเอเชียที่ลุกขึ้นต่อสู้กับกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในจีน"<ref>{{Cite web|last=Munsi|first=Pallabi|date=2020-07-15|title=The Asian Volunteer Army Rising Against China’s Internet Trolls|url=https://www.ozy.com/around-the-world/the-asian-volunteer-army-rising-against-chinas-internet-trolls/334518/|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20200729012850/https://www.ozy.com/around-the-world/the-asian-volunteer-army-rising-against-chinas-internet-trolls/334518/|archive-date=2020-07-29|access-date=2020-07-30|website=OZY}}</ref>
 
เพจเฟสบุ๊กของเฟซบุ๊กของ[[สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย]] โพสต์ข้อความประณามกระแสวิพากษ์วิจารณ์บนโลกออนไลน์และการต่อสู้ทางดิจิทัลที่ดุเดือดระหว่างชาวเน็ตไทยและสถานทูตจีน  ชาวเน็ตไทยใช้โซเชียลมีเดียตอบโต้และปกป้อง[[วชิรวิชญ์ ชีวอารี|ไบรท์ วชิรวิชญ์]] โดยคำวิจารณ์ของพวกเขากลายเป็นการวิจารณ์ที่แพร่หลายมากขึ้น และเปิดประเด็นปัญหาทางการเมืองจีนเปิดกลายเป็นสงครามข้อความบนทวิตเตอร์ด้วยแฮชแท็ก #nnevvy  ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ในประเทศไทยเห็นด้วยกับการรณรงค์เรียกร้องสำหรับการต่อสู้ของฮ่องกงและไต้หวันต่อการรุกรานของจีน ทำให้กลุ่มผู้ประท้วงประชาธิปไตยที่ออกมาต่อต้านในประเด็นข้างต้นมีความรู้สึกต่อต้านปักกิ่งร่วมด้วย กลายเป็นส่วนหนึ่งของเวทีต่อต้านเผด็จการของขบวนการพันธมิตรชานม<ref>[https://thestandard.co/nnevvy-a-fanclub-drama-of-chinese-resisting-trend/ #nnevvy จากดราม่าแฟนคลับสู่กระแสต่อต้านจีน ทำไมสงครามโซเชียลครั้งนี้จึงลุกลามระดับโลก] the standard. 15 เมษายน 2563.สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2563</ref>
 
ผู้ใช้ทวิตเตอร์ในไต้หวันและฮ่องกงได้เข้าร่วมกับผู้ใช้ชาวไทยและสื่อสารกันในข้อความลักษณะ “ช่วงเวลาแห่งความเป็นปึกแผ่นในระดับภูมิภาคที่หาได้ยาก.<ref name="telegraph2020">{{cite news|last1=Smith|first1=Nicola|title=#MilkTeaAlliance: New Asian youth movement battles Chinese trolls|url=https://www.telegraph.co.uk/news/2020/05/03/milkteaalliance-new-asian-youth-movement-battles-chinese-trolls/|work=[[The Daily Telegraph|The Telegraph]]|date=3 May 2020|access-date=18 August 2020|archive-date=2 July 2020|archive-url=https://web.archive.org/web/20200702050917/https://www.telegraph.co.uk/news/2020/05/03/milkteaalliance-new-asian-youth-movement-battles-chinese-trolls/|url-status=live}}</ref>