ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
คำที่มีคำว่าภาพตามหลัง จะมีความหมายว่า "ความ" เช่น เสรีภาพ = ความเสรี, เสมอภาพ = ความเสมอกันหรือเท่าเทียมกัน, ภราดรภาพ = ความเป็นพี่เป็นน้อง เพราะฉะนั้นจึงต้องใช้ เสมอภาพ ไม่ใช่ เสมอภาค
บรรทัด 2:
 
== ประวัติ ==
ในยุคสมัย[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]ได้เกิดคำขวัญขึ้นมาว่า '''"เสรีภาพ เสมอภาคเสมอภาพ ภราดรภาพ หรือความตาย"''' ''(Liberté, Égalité, Fraternité, ou la Mort!)'' แต่หลังจากนั้นในสมัย[[จักรวรรดิฝรั่งเศส]]และ[[การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง]] คำขวัญดังกล่าวก็ได้ถูกลืมหายไปจนกระทั่งปี [[พ.ศ. 2391]] [[ปีแอร์ เลอรูซ์]]ได้นำคำขวัญกลับคืนมาใช้อีกครั้งหนึ่ง และนายกเทศมนตรีนครปารีสได้เขียนคำขวัญดังกล่าวบนกำแพงเมือง จนกระทั่งสมัย[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3]] ที่คำขวัญนี้ได้กลายเป็นคำขวัญอย่างเป็นทางการ
 
ในระหว่างการบุก[[ประเทศฝรั่งเศส]]ของ[[เยอรมนี]]ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] คำขวัญได้ถูกแทนโดย '''"งาน ครอบครัว ปิตุภูมิ"''' ''(Travail, famille, patrie)'' โดย[[ฟิลิป เปแตง]] หัวหน้ารัฐบาล[[วิชีฝรั่งเศส]]โดยการสนับสนุนของนาซีเยอรมนี อย่างไรก็ตามคำขวัญใหม่นี้ได้ถูกล้อเลียนเป็น '''"แสวงโชค อดอยาก ลาดตระเวน"''' ''(Trouvailles, famine, patrouilles)'' ซึ่งเป็นการสะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ในสมัย[[วิชีฝรั่งเศส]]ที่มีความขาดแคลนและความยากลำบากในการดำรงชีวิต
 
ปัจจุบัน[[ประเทศฝรั่งเศส]]ได้ใช้คำขวัญว่า '''"เสรีภาพ เสมอภาคเสมอภาพ ภราดรภาพ"''' ''(Liberté, Égalité, Fraternité)'' เป็นคำขวัญประจำชาติซึ่งก็ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสปี 2489 และ 2501
[[ไฟล์:Liberte-egalite-fraternite-tympanum-church-saint-pancrace-aups-var.jpg|right|thumb|250px|ช่องกลางของคานประตูโบสถ์มีคำขวัญประจำชาติ ซึ่งได้ใส่ไว้ในปี [[พ.ศ. 2448]] ตามกฎหมายแยกรัฐออกจากศาสนาของประเทศฝรั่งเศส]]
 
บรรทัด 13:
 
== เสมอภาค ==
'''เสมอภาคเสมอภาพ''' ''(Égalité)'' คือความเท่าเทียมกันตามกฎหมายของปัจเจกชน ความเสมอภาคขึ้นอยู่กับหลักความเที่ยงธรรม ความเท่าเทียมกันในเรื่องสิทธิและหน้าที่ เช่น ความเท่าเทียมในด้านการเสียภาษี และสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้ง
 
== ภราดรภาพ ==