ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดอะมิโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 5:
== โครงสร้างทั่วไป ==
[[ไฟล์:AminoAcidball.svg|thumb|โครงสร้างทั่วไปของกรดอะมิโน]]
กรดอะมิโนเป็นหน่วยก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานของ[[โปรตีน]] โดยสร้าง [[พอลิเมอร์]] ที่เป็นโซ่สั้น ๆ เรียกว่า [[เพปไทด์]] หรือ [[พอลิเพปไทด์]] และกลายเป็นโครงสร้างที่เรียกว่าโปรตีน โครงสร้างทั่วไปของโปรตีโนเจนิก แอลฟ่า อะมิโน แอซิด เป็นไปตามภาพด้านขวามือ
 
หมู่ "R" แทน ''โซ่ข้าง'' (side chain) หรือหมู่ฟังก์ชัน ซึ่งมีความเฉพาะสำหรับกรดอะมิโนแต่ละตัว กรดอะมิโนแบ่งตามคุณสมบัติของหมู่ฟังก์ชัน ได้เป็น <ref>Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth</ref>
* หมู่ฟังก์ชันไม่มีขั้ว และไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) ได้แก่ [[ไกลซีน]] [[อะลานีน]] [[วาลีน]] [[ลิวซีน]] [[ไอโซลิวซีน]] และ[[โพรลีน]] กรดอะมิโนเหล่านี้มีบทบาทในการทำปฏิกิริยากับส่วนที่ไม่ชอบน้ำของโปรตีน และเพิ่มความยืดหยุ่นของโปรตีน
* หมู่ฟังก์ชันเป็นอะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ [[ฟีนิลอะลานีน]] [[ไทโรซีน]] และ[[ทริปโตแฟนเฟน]] มีบทบาทในการเพิ่มความแข็งแรงของโปรตีนโดยการซ้อนทับกับของวงแหวนอะโรมาติกซึ่งมีความคงตัว
* หมู่ฟังก์ชันมีขั้ว ไม่มีประจุ ได้แก่ [[เซอรีน]] [[ทรีโอนีน]] [[ซิสทีอีนสตีอีน]] [[เมทไทโอนีนมีไธโอนีน]] [[กลูตามีน]] [[แอสปาราสพาราจีน]] หมู่ฟังก์ชันเหล่านี้ชอบน้ำ (hydrophilic) และละลายในน้ำได้ดี
* หมู่ฟังก์ชันประจุลบ ได้แก่ [[กรดแอสปาเตตสปาร์ติก]] และ[[กลูตาเมต]] โดยจะแตกตัวให้ประจุลบที่ pH 7
* หมู่ฟังก์ชันประจุบวก ได้แก่ [[ไลซีน]] [[อาร์จินีน]] [[ฮิสทีดีนสทิดีน]] โดยจะแตกตัวให้ประจุบวกที่ pH 7
 
== กรดอะมิโนที่นอกเหนือจากกรดอะมิโนมาตรฐาน ==
บรรทัด 18:
* ในโครงสร้างของโปรตีน มีกรดอะมิโนที่ดัดแปลงโครงสร้างไปจากกรดอะมิโน 20 ชนิดข้างต้น ตัวอย่างเช่น
** [[เดสโมซิน]] (desmosine) พบในเส้นใยอีลาสติน
** [[ซีลีโนซิสทีอีน]] (selenocysteine) มีหมู่ Se แทนที่ O ในโมเลกุลของซิสทีอีน พบในโมเลกุลของเอนไซม์ [[กลูตาไทโอน เปอรอกเปอร์ออกซิเดส]] (Glutathioneglutathione peroxidase)
** [[ไทโรซีน]] (thyrosinetyrosine) พบในไทโอโกลบบูลินไธโรโกลบูลินที่สังเคราะห์โดย[[ต่อมธัยรอยด์]]
** [[กรดอะมิโนอะดิปิก]] (aminoadipic acid) พบในโปรตีนใน[[ข้าวโพด]]
* มีอีกอย่างน้อย 2 ตัวที่กำหนดรหัสโดย [[DNA]] ซึ่งเป็นวิธีที่ไม่ได้มาตรฐานดังนี้:
** [[ซีลีโนซิสตีอีน]] (Selenocysteineselenocysteine) ถูกใส่เข้าไปในโปรตีนบางตัวที่ [[UGA]] [[โคดอน]], ซึ่งเป็นโคดอนสำหรับหยุด
** [[ไพร์โรไลซีน]] (Pyrrolysinepyrrolysine) ถูกใช้โดย [[เมตทาโนเจน]] (methanogen) บางตัวใน [[เอนไซม์]] ที่มันใช้สำหรับผลิต[[มีเทน]] มันถูกกำหนดรหัสให้เหมือน [[ซีลีโนซิสตีอีน]] แต่กับ [[UGA]] [[โคดอน]] แทน
* กรดอะมิโนและอนุพันธ์ที่ไม่เป็นองค์ประกอบของโปรตีน แต่มีหน้าที่สำคัญทางชีวภาพอื่น เช่น
** [[กาบา]] (GABA) เป็นสารส่งสัญญาณสื่อประสาท
** [[อีพิเนปพริน]] (Epinephrineepinephrine) เป็นฮอร์โมนที่สร้างมาจากไทโรซีน
** [[เพนิซิลลามีน]] (Penicillaminepenicillamine) เป็นส่วนประกอบของ[[เพนนิซิลิน]]
** [[ไกลซีน]] และ [[กลูตาเมต]] เป็น[[สารส่งผ่านสื่อประสาท]] (neurotransmitters)
** [[คาร์นิทีน|คาร์นิตีน]] (carnitine) ใช้ประโยชน์ในการขนย้าย [[ลิพิด]] ภายใน [[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]
** [[ออร์นิทีน]] (ornithine)
** [[ซิตรูลลีน]] (citrulline)
บรรทัด 37:
** [[ซาร์โคซีน]] (sarcosine)
* กรดอะมิโนหลายตัวสามารถใช้สังเคราะห์โมเลกุลอื่นได้ เช่น:
** [[ทริปโตแฟนเฟน]] (tryptophan) เป็น [[ตัวตั้งต้น|สารตั้งต้น]] ของสารส่งผ่านสื่อประสาท [[เซอโรโทนิน]] (serotonin) ;
** [[ไกลซีน]] (glycine) เป็นหนึ่งใน [[ตัวทำปฏิกิริยา]] ในกระบวนการสังเคราะห์ [[พอร์ไฟริน]] (porphyrins) เช่น [[ฮีม]] (heme)
* กรดอะมิโนอื่นที่มีในโปรตีนธรรมดาเกิดขึ้นโดย [[การปรับแต่งหลังทรานสเลชัน]], (post-translational modification) คือปรับแต่งหลัง [[ทรานสเลชัน (ชีววิทยา)|ทรานสเลชัน]] ใน [[การสังเคราะห์โปรตีน]] การปรับแต่งเหล่านี้บ่อยครั้งมีความสำคัญต่อหน้าที่ของโปรตีน เช่น
** [[โปรลีนโพรลีน]] (Prolineproline) เป็นกรดโปรตีโนเจนิกอะมิโน เท่านั้นที่ หมู่ข้าง เป็นไซคลิก และเชื่อมต่อกับ หมู่ เอ-อะมิโน เกิดเป็นหมู่ทุติยภูมิอะมิโน เดิมทีโปรลีนโพรลีนถูกเข้าใจผิดเรียกเป็น [[กรดอิมิโน]]
กรดอะมิโนมากกว่า 100 ชนิดพบในธรรมชาติ บางตัวถูกตรวจพบได้ใน [[มีทีโอไรต์]] (meteorite) โดยเฉพาะประเภทที่รู้จักกันในชื่อ [[คาร์บอนาซีอัลคอนไดรต์]] (carbonaceous chondrite) [[จุลินทรีย์]] และ [[พืช]] บางครั้งผลิตกรดอะมิโนชนิดผิดปกติมาก ๆ ออกมา ซึ่งสามารถพบได้ใน [[ยาปฏิชีวนะ]] ประเภทเปปทีดิก เช่น [[นิซิน]] (nisin) หรือ [[อะลาเมตทิซิน]] (alamethicin) [[แลนไทโอนีน]] (Lanthioninelanthionine) เป็นไดเมอร์ของอะลานีนที่เชื่อมกันด้วยพันธะแบบซัลไฟด์ซึ่งพบร่วมกับกรดอะมิโน [[การอิ่มตัว (เคมี)|อิ่มตัว]] ใน[[แลนติไบโอติก]] (lantibiotics-แอนติไบโอติกเพปไทด์ของ ปไทด์ของแหล่งกำเนิดจุลินทรีย์) [[1-อะมิโนไซโคลโพรเพน-1-คาร์บอกซิลิก แอซิก]] (1-Aminocyclopropaneaminocyclopropane-1-carboxylic acid-ACC) เป็นกรดอะมิโนไซคลิกlic และเป็นผลผลิตระหว่างทางของการผลิต [[ฮอร์โมน]] พืช [[เอตทิลีนเอทิลีน]] ใน[[http://www.brandsworld-online.com/innershine/beauty_tips.php?id=1 สาหร่ายสีแดง]]
 
== กรดอะมิโนจำเป็น ==
บางตัวใน 20 ตัวของกรดอะมิโนมาตรฐานเรียกว่า [[กรดอะมิโนจำเป็น]] (essential amino acid) เพราะว่ามันไม่สามารถ[[สังเคราะห์]] ได้โดย [[ร่างกายมนุษย์|ร่างกาย]] แต่ได้จาก [[สารประกอบเคมี|สารประกอบ]] ผ่าน [[ปฏิกิริยาเคมี]] ซึ่งเราได้รับโดยการกินเข้าไป ใน [[มนุษย์]] โดยกรดอะมิโนจำเป็นในมนุษย์ได้แก่
* [[ไลซีน]] (lysine)
* [[ลิวซีน]] (leucine)
* [[ไอโซลิวซีน]] (isoleucine)
* [[เมตไทโอนีนมีไธโอนีน]] (methionine)
* [[ฟีนิลอะลานีน]] (phenylalanine)
* [[ทรีโอนีน]] (threonine)
* [[ทริปโตแฟนเฟน]] (tryptophan)
* [[วาลีน]] (valine)
ในเด็กมีเพิ่มอีก 2 ตัว ดังนี้
* [[ฮีสติดีนฮิสทิดีน]] (histidine)
* [[อาร์จินีน]] (arginine)
 
บรรทัด 61:
== ลักษณะทางโครงสร้าง ==
=== ไอโซเมอริซึม (Isomerism) ===
ยกเว้น [[ไกลซีน]] ซึ่งมีหมู่ฟังก์ชัน R = H กรดอะมิโนที่เกิดขึ้นเป็นไปได้ที่จะมี 2 [[ออพติคัล ไอโซเมอริซึม|ออพติคัล ไอโซเมอร์]] เรียกว่า D และ L กรดอะมิโน L จะแทนกรดอะมิโนจำนวนมากมายที่พบใน [[โปรตีน]] กรดอะมิโน D พบใน [[โปรตีน]] ที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในทะเลชนิดพิเศษ เช่น [[หอยทากกรวย]] (cone snail) และพบเป็นส่วนประกอบจำนวนมากของ [[ผนังเซลล์]] (cell wall) ของ [[แบคทีเรีย]]
 
== ปฏิกิริยา (Reactions) ==
โปรตีนจะถูกสร้างโดยกระบวนการ [[พอลิเมอไรเซชัน]] ของกรดอะมิโนโดย [[พันธะเพปไทด์]] ในกระบวนการที่เรียกว่า [[ทรานสเลชัน (ชีววิทยา)|ทรานสเลชัน]] (translation)
ในกระบวนการที่เรียกว่า [[ทรานสเลชัน (ชีววิทยา)|ทรานสเลชัน]] (translation)
 
[[ไฟล์:amino acids 1.png|580px]]
<small><center>''การเกิดพันธะเพปไทด์<br />1. '''กรดอะมิโน''' ; 2, โครงสร้าง[[zwitterion]]; 3, แสดงพันธะเพปไทด์ระหว่างกรดอะมิโน 2 ตัว (ดูด้วย [[พันธะเคมี]]) ''</center></small>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อกรดอะมิโนมาตรฐาน]]
* [[กรดอะมิโนจำเป็น]] (Essentialessential amino acids)
 
== อ้างอิง ==
เส้น 79 ⟶ 82:
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* Doolittle, R.F. (1989) Redundancies in protein sequences. In ''Predictions of Protein Structure and the Principles of Protein Conformation'' (Fasman, G.D. ed) Plenum Press, New York, pp. 599-623
* David L. Nelson and Michael M. Cox, ''Lehninger Principles of Biochemistry'', 3rd edition, 2000, Worth Publishers, ISBN 1-57259-153-6
เส้น 94 ⟶ 96:
* [http://micro.magnet.fsu.edu/aminoacids/index.html Molecular Expressions: The Amino Acid Collection] - Has detailed information and microscopy photographs of each amino acid.
* [http://researchnews.osu.edu/archive/aminoacd.htm 22nd amino acid] - Press release from Ohio State claiming discovery of a 22nd amino acid.
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อกรดอะมิโนมาตรฐาน]]
* [[กรดอะมิโนจำเป็น]] (Essential amino acids)
 
[[หมวดหมู่:กรดอะมิโน|กรดอะมิโน]]
[[หมวดหมู่:การเผาผลาญไนโตรเจน]]
[[หมวดหมู่:Witool Jumpa]]