ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นข้างลำตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 5:
อาศัยเซลล์[[เนื้อเยื่อบุผิว]]ที่แปลงไป ซึ่งเรียกว่า เซลล์ขน และตอบสนองต่อการขยับเหตุการเคลื่อนไหวโดย[[ถ่ายโอนสัญญาณ]]เป็น[[กระแสประสาท]]
เป็นอวัยวะสำคัญสำหรับพฤติกรรมอยู่เป็นฝูง การล่าเหยื่อ และการรู้ทิศทาง
ยกตัวอย่างเช่น ปลาสามารถใช้ระบบ lateral line เส้นข้างลำตัวเพื่อติดตาม[[กระแสน้ำวน]]ที่สร้างจากเหยื่อซึ่งที่กำลังหนีสร้าง
lateral line ปกติเส้นข้างลำตัวจะเห็นเป็นเส้นจาง ๆ ประกอบด้วยรู วิ่งยาวไปตามลำตัว ตั้งแต่ที่ปิดเหงือกไปจนถึงโคนหาง
ในสัตว์ปลาบาง[[สปีชีส์]]ชนิด อวัยวะรับความรู้สึกที่ lateral line เส้นข้างลำตัวได้เปลี่ยนไปทำหน้าที่เป็น[[ตัวรับรู้ไฟฟ้า]] (electroreceptor) ซึ่งสามารถตรวจจับพัลส์ไฟฟ้า ดังนั้น จึงยังเป็นอวัยวะที่คล้าย ๆ กัน
ตัวอ่อน[[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]]โดยมากและที่โตแล้วจะมีระบบรับรู้แรงกลที่เทียบกับ lateral line เส้นข้างลำตัวได้<ref>{{Cite journal | pmid = 3236259 | title = A lateral line analogue in cephalopods: Water waves generate microphonic potentials in the epidermal head lines of Sepia and Lolliguncula | year = 1988 }}<!-- Budelmann, Bernd U.; Bleckmann, Horst (1988). "A lateral line analogue in cephalopods: Water waves generate microphonic potentials in the epidermal head lines of Sepia and Lolliguncula". Journal of Comparative Physiology A. 164 (1) : 1-5. PMID 3236259. doi:10.1007/BF00612711. --></ref>
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==