ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลิมัท (มอนต์เซอร์รัต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
ปรับปรุงบทความ
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นิคม
{{Infobox settlement
<!--See Template:Infobox Settlement for additional fields that may be available-->
<!--See the Table at Infobox Settlement for all fields and descriptions of usage-->
<!-- Basic info ---------------->
| name = พลิมัท
| official_name = Plymouth
| other_name =
| native_name =
เส้น 14 ⟶ 11:
| image_skyline = Plymouth Montserrat Heli.jpg
| imagesize =
| image_caption = พลิมัท ที่ถูกปล่อยปละละเลยในปี 1997พ.ศ. 2540 เนื่องจากการระเบิดของภูเขาไฟ
| image_flag =
| flag_size =
เส้น 29 ⟶ 26:
| image_map1 =
| mapsize1 =
| map_caption1 =
| coordinates = {{coord|16.706417|N|62.215839|W|region:MS|display=inline,title}}
| image_dot_map =
| dot_mapsize =
| dot_map_caption =
| dot_x = |dot_y =
| pushpin_map = <!-- the name of a location map as per http://en.wikipedia.org/wiki/แม่แบบ:Location_map -->
| pushpin_label_position = <!-- the position of the pushpin label: left, right, top, bottom, none -->
| pushpin_map_caption =
| pushpin_mapsize =
<!-- Location ------------------>
| subdivision_type = ประเทศ
| subdivision_name = สหราชอาณาจักร{{ไม่ตัด|{{flag|Great Britain}}}}
| subdivision_type1 =[[ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน|ดินแดนโพ้นทะเล{{ไม่ตัด|ของบริเตน}}]]
| subdivision_type1 = {{nowrap|[[British overseas territory|Overseas territory]]}}
| subdivision_name1 = {{flag|Montserrat}}
| subdivision_name1 = [[มอนต์เซอร์รัต]]
| subdivision_type2 =
| subdivision_name2 =
เส้น 83 ⟶ 73:
| elevation_min_ft =
<!-- Population ----------------------->
| population_as_of = 20072550
| population_totalpopulation_footnotes = 0 {{small|&nbsp;(เมืองถูกทิ้งร้างโดยสิ้นเชิงจากการปะทุของภูเขาไฟ)}}
| population_footnotes =
| population_note =
| population_total = 0
| population_total = 0 (เมืองถูกทิ้งร้างโดยสิ้นเชิงจากการปะทุของภูเขาไฟ)
| population_density_km2 = <!--For automatic calculation, any density field may contain: auto -->
| population_density_sq_mi =
<!-- General information --------------->
| timezone = Atlanticแอตแลนติก
| utc_offset = -4−4
| timezone_DST =
| utc_offset_DST =
เส้น 98 ⟶ 88:
| longd = |longm= |longs= |longEW=
<!-- Area/postal codes & others -------->
| postal_code_type = <!-- enter ZIP code, Postcode, Post code, Postal code... -->รหัสไปรษณีย์
| postal_code =
| area_code =
เส้น 105 ⟶ 95:
}}
 
'''พลิมัท''' ({{lang-en|Plymouth}}) เป็น[[เมืองหลวง]]โดยนิตินัยของเมืองร้างบนเกาะ[[มอนต์เซอร์รัต]] ซึ่งเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีเวิร์ดของ[[สหราชอาณาจักรเลสเซอร์แอนทิลลีส]] ใน[[ทะเลแคริบเบียน]] เมืองถูกทำลายจากการระเบิดของภูเขาไฟในคริสต์ทศวรรษ 1990 และถูกทิ้งร้าง ศูนย์กลางการบริหารย้ายไปตั้งอยู่ที่หมู่บ้าน[[เบรดส์]]ทางตอนเหนือของเกาะ พลิมัทเคยเป็นเมืองท่าเพียงแห่งเดียวของเกาะอยู่เป็นเวลาหลายศตวรรษ
 
ตั้งขึ้นบนแหล่งทับถมลาวาในอดีตใกล้กับภูเขาไฟซูฟริแยร์ฮิลล์ (Soufrière Hills) ที่ไม่มีการปะทุมานาน เมืองนี้ต้องถูกอพยพในปี พ.ศ. 2538 เมื่อภูเขาไฟกลับมาปะทุ ในที่สุดพลิมัทก็ถูกทิ้งอย่างถาวรในปี พ.ศ. 2540 หลังจากที่เมืองถูกไฟไหม้อย่างมาก และส่วนใหญ่ถูกฝังโดยกระแสตะกอนภูเขาไฟ (pyroclastic flow) และ [[ตะกอนไหล|ดินไหล]] ([[lahar]]) ในหลายศตวรรษที่ผ่านมาที่นี่เป็นท่าเรือเพียงแห่งเดียวในการเข้าสู่เกาะ พลิมัทยังคงเป็นเมืองหลวงทาง{{linktext|นิตินัย}}ของมอนต์เซอร์รัต ทำให้เป็นเมืองร้างแห่งเดียวที่ทำหน้าที่เป็นเมืองหลวงของดินแดนทางการเมือง โดยศูนย์กลางการบริหารย้ายไปตั้งอยู่ที่หมู่บ้าน[[เบรดส์]]ทางตอนเหนือของเกาะ
== สภาพอากาศ ==
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== โบสถ์เซนต์แอนโทนี ===
หลังจากการก่อตั้งอาณานิคมแห่งแรกของยุโรปบนเกาะมอนต์เซอร์รัตในปี ค.ศ. 1632 โบสถ์เซนต์แอนโทนีได้รับการจัดตั้งขึ้นในพลิมัทในปี ค.ศ. 1636<ref>[http://blogs.brown.edu/archaeology/fieldwork/montserrat/montserrats-archaeological-resources/ "Montserrat's Archaeology and History"] Retrieved October 12, 2019.</ref> แม้ว่า[[เซนต์แอนโทนี]]จะเป็นนักบุญในศาสนาคริสต์นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] แต่เชื่อกันว่าข้าหลวง[[แอนโทนี บริสเก็ต]] ซึ่งเดินทางไปอังกฤษเพื่อหาเงินทุนมาสร้างโบสถ์แห่งนี้ ได้ตั้งชื่อโบสถ์ตามชื่อของเขา<ref>[https://www.globalsecurity.org/military/world/caribbean/ms-history.htm "Montserrat History"] Retrieved October 12, 2019.</ref> โบสถ์ต้องสร้างใหม่หลายครั้งตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากความเสียหายจากแผ่นดินไหว และเฮอริเคน<ref>[http://www.visitmontserrat.com/buried-city/ "Visit Montserrat"] Retrieved October 12, 2019.</ref>
 
=== เฮอริเคนฮิวโก ===
มอนต์เซอร์รัตถูกพายุ[[เฮอริเคนฮิวโก]]ถล่ม เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2532 พายุเฮอริเคนได้ทำลายเขื่อนกันคลื่นหินยาว 180 ฟุตในท่าเรือของพลิมัท<ref>[https://www.globalsecurity.org/military/world/caribbean/ms-history.htm "Montserrat History"] Retrieved October 13, 2019.</ref> อาคารอื่น ๆ อีกมากมายรวมทั้ง โรงเรียน, สถานีอนามัย และอาคารโรงพยาบาลกลางที่เพิ่งสร้างเสร็จไม่สามารถใช้งานได้จากความเสียหายจากพายุ เนื่องจากโรงพยาบาลแห่งนี้เป็นเพียงแห่งเดียวบนเกาะ และมีความเสียหายมากจนต้องย้ายผู้ป่วยทั้งหมด การสำรวจโดยวิศวกรจากสำนักงานจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติของ[[ตรินิแดดและโตเบโก]]ได้สรุปว่า โรงพยาบาลควรได้รับการออกแบบใหม่ เพื่อให้แน่ใจว่าโครงสร้างแข็งแรงสามารถทนต่อพายุในอนาคตได้<ref>[https://www.oecs.org/en/ccu-resources/hurricane-hugo-a-survey-of-damage-in-montserrat-and-antigua-november-1989-5566opt-pdf/download "Hurricane Hugo; A Survey of Damage in Montserrat and Antigua"] M.W. Chin & W.H.E. Suite, National Emergency Management Agency of Trinidad and Tobago. February 19, 1990.</ref>
 
=== ภูเขาไฟและการอพยพ ===
[[ไฟล์:Montserrat eruption.JPG|thumb|left|[[กระแสตะกอนภูเขาไฟ]]ได้เผาไหม้สิ่งที่ยังไม่ได้ปกคลุมด้วยเถ้าถ่าน (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2540)]]
[[ไฟล์:Montserrat Plymouth Street Lamp.png|thumb|left|เถ้ากองสูงเท่าโคมไฟถนนในเมืองพลิมัท (พ.ศ. 2542)]]
ในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2538 การปะทุครั้งใหญ่ที่ภูเขาไฟ[[ซูฟริแยร์ฮิลล์]] (Soufrière Hills) ซึ่งไม่มีการปะทุมานานหลายศตวรรษส่งให้เกิดการไหลของตะกอนภูเขาไฟ ([[pyroclastic flow]]) และขี้เถ้าตกลงไปทั่วพื้นที่กว้างทางตอนใต้ของมอนต์เซอร์รัตรวมถึงเมืองหลวงพลิมัท เห็นได้ชัดในทันทีว่าเมืองนี้ตกอยู่ในอันตรายอย่างร้ายแรง เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ภูเขาไฟได้พ่นเศษหิน ([[tephra]]) ตกลงมาในพลิมัท และในเดือนธันวาคมผู้อยู่อาศัยถูกอพยพเพื่อความไม่ประมาท
 
ผู้อยู่อาศัยได้รับอนุญาตให้กลับมาในอีกไม่กี่เดือนต่อมา แต่ในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2540 การปะทุครั้งใหญ่อีกครั้งทำให้เกิดการไหลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของตะกอนภูเขาไฟซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิต 19 คน และไหลไปเกือบถึงสนามบินซึ่งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของเกาะ ผู้อาศัยในพลิมัทถูกอพยพอีกครั้ง
 
ระหว่างวันที่ 4–8 สิงหาคม พ.ศ. 2540 การปะทุครั้งใหญ่เป็นชุดได้ทำลายประมาณ 80% ของเมืองโดยฝังไว้ใต้เถ้าสูง 1.4 เมตร (4.6 ฟุต) วัสดุที่ร้อนจัดนี้ได้เผาอาคารหลายหลัง ทำให้แทบเป็นไปไม่ได้ที่จะอยู่อาศัยสำหรับชาวเมืองส่วนใหญ่
 
การไหลของกระแสตะกอนภูเขาไฟ (pyroclastic flow), [[ลาวา]], เถ้า และหินภูเขาไฟอื่น ๆ ส่วนใหญ่อัดแน่นโดยมีความหนาแน่นใกล้เคียงกับ[[คอนกรีต]] การกำจัดภาระที่ล้นเกินจะต้องใช้วัตถุระเบิด, รถปราบดิน และทรัพยากรอื่น ๆ ที่มีราคาแพงเกินไปสำหรับการใช้งานอย่างกว้างขวาง คาดว่าดินใต้โคลนแข็งและลาวาน่าจะไหม้เกรียมและไม่สามารถเพาะปลูกได้อย่างสมบูรณ์ จากความร้อนที่รุนแรงของการไหลของกระแสตะกอนภูเขาไฟ
 
รัฐบาลสั่งอพยพเมืองพลิมัทโดยกองทัพเรืออังกฤษให้ความช่วยเหลือโดยพาประชาชนไปยังที่ปลอดภัย ครึ่งทางใต้ของเกาะได้รับการประกาศให้เป็นเขตที่กันออกไป ([[exclusion zone]]) เนื่องจากมีการระเบิดของภูเขาไฟที่ซูฟริแยร์ฮิลล์ (Soufrière Hills) อย่างต่อเนื่อง รัฐบาลของเกาะถูกย้ายไปทางเหนือไปยังหมู่บ้าน[[เบรดส์]] (Brades) แม้ว่าพลิมัทจะยังคงเป็นเมืองหลวงทางนิตินัย ในปี พ.ศ. 2556 ท่าเรือและเมืองหลวงแห่งใหม่อยู่ระหว่างการก่อสร้างที่ลิตเติลเบย์ (Little Bay) บนชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ
 
การถูกทำลายล้างทั้งหมดของพลิมัท ทำให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงสำหรับเกาะมอนต์เซอร์รัต พลิมัทเคยเป็นที่ตั้งถิ่นฐานที่ใหญ่ที่สุดบนเกาะโดยมีประชากรประมาณ 4,000 คน และด้วยเหตุนี้จึงเคยเป็นที่ตั้งของร้านค้าและบริการเกือบทั้งหมดของเกาะ นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่ตั้งของรัฐบาล สิ่งอำนวยความสะดวกที่สูญหายบางส่วนถูกสร้างขึ้นใหม่ในเวลาต่อมา ในที่อื่นของมอนต์เซอร์รัต แต่สิ่งนี้ไม่ได้ป้องกันการอพยพ ระหว่างปี พ.ศ. 2538 ถึง 2543 ประชากร {{เศษ|2|3}} ของทั้งเกาะถูกบังคับให้อพยพ โดยหลายคนตั้งรกรากอยู่ใน[[สหราชอาณาจักร]] โดยในปี พ.ศ. 2540 เหลือน้อยกว่า 1,200 คนที่ยังอาศัยอยู่บนเกาะ จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 5,000 คนในปี พ.ศ. 2559 {{clear}}
 
==ภูมิศาสตร์ ==
พลิมัท ตั้งอยู่บนเนินทางตะวันตกเฉียงใต้ตอนล่างของภูเขาไฟ[[ซูฟริแยร์ฮิลล์]] (Soufrière Hills) อยู่ในเขตที่กันออกไปเนื่องจากภูเขาไฟ ซึ่งถือว่าไม่สามารถอยู่อาศัยได้ทั้งหมด
 
=== ภูมิอากาศ ===
{{Weather box
| location = พลิมัท
เส้น 179 ⟶ 196:
| source 1 = BBC Weather <ref name="weather1">{{cite web
| url = http://www.bbc.co.uk/weather/world/city_guides/results.shtml?tt=TT003230 | title =Average Conditions Plymouth, Montserrat| accessdate =July 14, 2010
| publisher = BBC Weather }}</ref>
| date = August 2010
}}
 
== การคมนาคม ==
ท่าอากาศยานวิลเลียม เฮนรี แบรมเบิล (W. H. Bramble) ที่ให้บริการแก่พลิมัท ถูกปิดลงอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2540 และถูกทำลายในเวลาต่อมาเนื่องจากถูกฝังในเถ้าภูเขาไฟ ท่าอากาศยานจอห์น อัลเฟรด ออสบอร์น (John A. Osborne) แห่งใหม่ เปิดให้บริการใกล้กับหมู่บ้าน[[เบรดส์]] (Brades)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{Commons category}}
{{Reflist}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Plymouth, Montserrat|พลิมัท (มอนต์เซอร์รัต)}}
* [http://www.youtube.com/watch?v=4jydWJXiPPE Video of Plymouth from a MVO helicopter on 24th August, 2012]
* [http://www.youtube.com/watch?v=4jydWJXiPPE วีดิทัศน์ของพลิมัท] จากเฮลิคอปเตอร์ของหอสังเกตุการณ์ภูเขาไฟมอนเซอร์รัต {{small|(24 สิงหาคม พ.ศ. 2555)}}
 
[[หมวดหมู่:เมืองหลวง]]
 
{{Authority control|GND=7543973-6|LCCN=n/79/98599|VIAF=261897511}}
 
[[หมวดหมู่:เมืองหลวง]]
{{โครงประเทศ}}