ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุลักษณ์ ศิวรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เนื้อหาน้อยไม่ต้องแบ่งละเอียด
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| caption = ส. ศิวรักษ์ ในการบรรยายที่[[พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก]] พ.ศ. 2552
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2476|3|27}}<ref>http://www.npf.or.jp/pdf/grant/2011/biography_e.pdf</ref>
| birth_place = {{flag|ไทย}} [[จังหวัดพระนคร]] ประเทศสยาม
| death_date =
| death_place =
| alma_mater = {{bulleted list
| alma_mater = ''University of Wales'' <br> ''The Middle Temple Bar Law Association''
| สำนักกฎหมายมิดเดิลเทมเปิล
| other_names =
| มหาวิทยาลัยแห่งเวลส์
| [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]]
}}
| other_names = ส. ศิวรักษ์
| known_for =
| otherparty = [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
| occupation = นักวิชาการ, นักเขียน, นักปรัชญา
| spouse = นิลฉวี ศิวรักษ์
| children = 3 คน
เส้น 22 ⟶ 26:
}}
 
'''สุลักษณ์ ศิวรักษ์''' (เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2476) เจ้าของ[[นามปากกา]] '''ส. ศิวรักษ์''' เป็น[[นักเขียน]] [[นักปรัชญา]] นักคิด และนักวิชาการ[[ชาวไทย]] เป็นที่รู้จักทั่วไปมีอิทธิพลที่สุดคนหนึ่งของเมืองไทย จนได้รับสมญานามว่า ''ปัญญาชนสยาม''<ref>[http://guru.sanook.com/25952/ วันเกิด ส.ศิวรักษ์ นักคิด-ปัญญาชนสยาม อดีตบรรณาธิการสำนักพิมพ์...], guru.sanook.com .สืบค้นเมื่อ 15/04/2559</ref>{{อ้างอิงดีกว่า}}<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1537545 "ส.ศิวรักษ์" ผู้เฒ่านักคิด ปัญญาชน เทิดทูนเจ้า ขวานผ่าซาก ไม่เคยมีใครขจัดได้], thairath.co.th/ .วันที่ 24/04/2559</ref> เขาเป็นคนไทยเพียงคนเดียวที่ได้รับ ''รางวัลอัลเทอเนทีฟโนเบล'' (Alternative Nobel, Right Livelihood Award) หรือ "''รางวัลสัมมาอาชีวะโนเบลทางเลือก''" ในปี [[พ.ศ. 2538]]<ref>[https://blogazine.pub/blogs/bookgarden/post/639 ฅ คน กับบทสัมภาษณ์ ส.ศิวรักษ์] ,blogazine.pub/ .วันที่ 9 เมษายน 2008</ref><ref>[http://www.siamchronicle.com/view_alt_category_005.html ข้อเขียนพิเศษจากอ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์] ,siamchronicle.com .วันที่ 23 มกราคม 2006</ref> สุลักษณ์ และยังได้รับรางวัล[[ศรีบูรพา]]จากสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทยในปีเดียวกันอีกด้วย เขามีผลงานการเขียนมากมายครอบคลุมหลายด้าน เช่น [[พุทธศาสนา]] [[สังคม]] [[การเมือง]] รูปแบบการปกครอง เป็นต้น โดยมีหนังสืออัตชีวประวัติของตนเองชื่อว่า ''ช่วงแห่งชีวิต''<ref>[http://www.kledthai.com/kledthai-book-104/9786167339290.html ช่วงแห่งชีวิต ส.ศิวรักษ์] ,ช่วงแห่งชีวิต ส.ศิวรักษ์ .สืบค้นเมื่อ 15/04/2559</ref> เขาเปิดเผย

สุลักษณ์ เป็นนักวิชาการคนสำคัญคนหนึ่งและอาจกล่าวได้ว่าเป็นนักวิชาการรุ่นแรก ๆ ที่ออกมาพูดถึงเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ในที่สาธารณะ ซึ่งเป็นเหตุให้เขาโดนคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพหลายครั้ง<ref>[http://themomentum.co/momentum-interview-sulak-sivaraksa สถาบันกษัตริย์ควรจะมีไว้เพื่อประโยชน์ของราษฎร” ส.ศิวรักษ์ กับ​สถาบันกษัตริย์ไทยในยุคเปลี่ยนผ่าน]</ref> แต่ก็พ้นผิดจากคุกได้ทุกครั้ง ครั้งหนึ่งเขาเคยยื่นถวายฎีกาต่อ[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] ให้ทรงพระราชทานอภัยโทษ เขายังกล่าวแสดงความชื่นชมสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและกล่าวว่าหากไม่ได้รับพระบารมีปกเกล้าเขาคงต้องจำคุกอย่างแน่นอน<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-42714062 ส.ศิวรักษ์ เชื่ออัยการศาลทหารสั่งไม่ฟ้องคดีหมิ่นพระนเรศวรฯ เพราะ "พระบารมีปกเกล้าฯ"]</ref>
 
== ประวัติ ==
เส้น 29 ⟶ 35:
ครอบครัวของสุลักษณ์ เป็นชาว[[ไทยเชื้อสายจีน]] บรรพบุรุษทั้งหมดเป็น[[ชาวจีนโพ้นทะเล]]ซึ่งเดินทางเข้ามาตั้งรกรากและแต่งงานกับชาวไทยตั้งแต่ยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นจนถึง[[รัชกาลที่ 5]] แม้พื้นฐานครอบครัวจะได้รับอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนก็ตาม แต่ก็ได้ผสมผสานจนกลายเป็นครอบครัวคนไทยที่นับถือพุทธศาสนาแบบ[[เถรวาท]]เป็นหลัก{{อ้างอิง}} ส่วนพื้นฐานทางเศรษฐกิจเป็นตระกูลที่ประกอบอาชีพค้าขายเป็นส่วนใหญ่ มีเพียงส่วนน้อยที่รับราชการในส่วนกลาง แต่ในช่วงที่สุลักษณ์เกิดนั้น เป็นช่วงที่ฐานะทางเศรษฐกิจอยู่ในช่วงตกต่ำเกือบถึงขีดสุด จึงแยกครอบครัวมาอยู่ที่ซอยสันติภาพ ถนนนเรศ{{อ้างอิง}} อันเป็นบ้านที่สุลักษณ์อาศัยอยู่ในปัจจุบัน หลังจากที่บิดาถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2489 สุลักษณ์ซึ่งตอนนั้นยังอยู่ในช่วงมัธยมต้น ก็ต้องทำงานหาเลี้ยงตัวเอง และต่อมาจึงได้รับการอุปการะจากมารดา จนกระทั่งสำเร็จการศึกษา
 
พ.ศ. 2495 จบชั้นมัธยมปีที่ 8 จาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] บางรัก ซึ่งเป็นโรงเรียนคาทอลิก โดยเข้าเรียนครั้งแรกในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในปี พ.ศ. 2486 แล้วต้องพักการเรียน เพราะภัยจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เกือบ 3 ปี ในระหว่างนี้ จึงได้บรรพชาเป็นสามเณรที่[[วัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร]] อันเป็นช่วงที่ได้รับประสบการณ์จากระบบการศึกษาในวัด แล้วกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนอัสสัมชัญในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปี พ.ศ. 2489 จนสำเร็จการศึกษา พ.ศ. 2500 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านปรัชญา[[ประวัติศาสตร์]]และ[[วรรณคดี]] จากมหาวิทยาลัยแห่งเวลส์ เมืองแลมปีเตอร์ (University of Wales, Lampeter) ใน[[เวลส์|แคว้นเวลส์]] [[สหราชอาณาจักร]] พ.ศ. 2503 สำเร็จการศึกษาและสอบเป็น[[เนติบัณฑิต]]อังกฤษ จากสำนักกฎหมายมิดเดิ้ลเทมเปิ้ลเดิลเทมเปิล (The Middle Temple Bar Law Association) สหราชอาณาจักร
 
=== การเมือง ===