ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้องสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sirika karipoon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|||สนามหลวงราษฎร (แก้ความกำกวม)|สนามหลวงราษฎร}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Coord|13|45|18|N|100|29|35|E|type:landmark_region:TH|display=title}}
[[ไฟล์:Sanam Luang.jpg|thumb|300px|ท้องสนามหลวง]]
 
'''ท้องสนามหลวงราษฎร''' หรือ '''สนามหลวงราษฎร''' เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้า[[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์]] ระหว่าง[[พระบรมมหาราชวัง]]กับ[[พระราชวังบวรสถานมงคล]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบัน[[กรมศิลปากร]]ได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]]สำคัญของชาติใน พ.ศ. 2520{{อ้างอิง}}
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Old Grand Palace.jpg|thumb|250px|left|ภาพถ่ายของท้องสนามหลวงในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]]]
ท้องสนามหลวงราษฎร เดิมเรียกว่า ''ทุ่งพระเมรุ'' เนื่องจากใช้เป็นที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระเจ้าแผ่นดินและพระบรมวงศานุวงศ์ ครั้นเมื่อ [[พ.ศ. 2398]] รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเรียกจาก “ทุ่งพระเมรุ” เป็น “ท้องสนามหลวง”ราษฎร” ดังปรากฏในประกาศว่า ''“ที่ท้องนาหน้าวัดมหาธาตุนั้น คนอ้างการซึ่งนาน ๆ มีครั้งหนึ่งแลเป็นการอวมงคล มาเรียกเป็นชื่อตำบลว่า ‘ทุ่งพระเมรุ’ นั้นหาชอบไม่ ตั้งแต่นี้สืบไปที่ท้องนาหน้าวัดมหาธาตุนั้น ให้เรียกว่า ‘ท้องสนามหลวง’”ราษฎร’”''{{อ้างอิง}}
 
ตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เป็นต้นมา ได้ใช้สนามหลวงเป็นที่ประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น เป็นที่ตั้งพระเมรุมาศของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ และเป็นที่ประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้ทำนาที่สนามหลวง เพื่อแสดงให้ปรากฏแก่นานาประเทศว่า เมืองไทยบริบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร มีไร่นาไปจนใกล้ ๆ พระบรมมหาราชวัง และไทยเอาใจใส่ในการสะสมเสบียงอาหารไว้เป็นกำลังของบ้านเมืองด้วย
บรรทัด 32:
=== การปรับปรุง ===
[[ไฟล์:สนามหลวง2554.jpg|thumb|left|250px|ท้องสนามหลวงหลังการปรับปรุงใหม่]]
ในปี [[พ.ศ. 2553]] [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ได้ทำการปรับปรุงภูมิทัศน์ของสนามหลวง จากเดิมที่เคยเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น แล้วเสร็จในปลายเดือนเมษายน [[พ.ศ. 2554]]<ref>[http://www.chaoprayanews.com/2010/02/02/%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A1-%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87/ กทม.เดินเครื่องปรับภูมิทัศน์สนามหลวงแล้ว]</ref>เปิดใช้พื้นที่อย่างเป็นทางการ วันที่ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2554]] และไม่อนุญาตให้ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางการเมืองใด ๆ เหมือนในอดีต เพื่อสงวนไว้สำหรับประกอบพระราชพิธีเท่านั้น<ref>[http://matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1306472477&grpid=&catid=01&subcatid=0100 ปิดตำนาน "สนามหลวง" ห้ามใช้ปราศรัย-ชุมนุมทางการเมือง (อีกต่อไป) !! จาก][[มติชน]]]</ref> พร้อมขอความร่วมมือให้ช่วยในการรักษาความสะอาดไม่ทิ้งขยะลงพื้น หากพบผู้ฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ในกรณีที่ไม่สามารถชำระค่าปรับได้ ต้องบำเพ็ญประโยชน์ด้วยการเก็บขยะจำนวน 100 ชิ้น แทนการเสียค่าปรับ ซึ่งมีพระราชบัญญัติโบราณสถานคุ้มครอง และกำหนดโทษผู้ใดฝ่าฝืนหรือบุกรุกมีโทษจำคุก 10 ปี หรือปรับเป็นเงิน 1 ล้านบาท โดยทางกรุงเทพมหานคร อนุญาตให้ประชาชนเข้าไปใช้พื้นที่เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ และสันทนาการตามปกติ แต่ห้ามนำสินค้าเข้าไปจำหน่าย จอดรถหรืออาศัยเป็นที่หลับนอน ซึ่งสามารถเข้าใช้พื้นที่ได้ ระหว่างเวลา 05.00-22.00 น. นอกจากนี้ประชาชนยังสามารถสัญจรผ่านถนนเส้นกลาง ซึ่งเชื่อมระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปยังศาลฎีกาได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยเบื้องต้นได้ทำการติดตั้งรั้วชั่วคราว เพื่อป้องกันการบุกรุก และเพื่อคงความสวยงามของสนามหลวง ซึ่งผู้ที่ต้องการขอใช้พื้นที่สามารถทำเรื่องขอพื้นที่จากกรุงเทพมหานคร แต่ทางกรุงเทพมหานครจะไม่ให้ใช้พื้นที่ท้องสนามหลวงเป็นที่ชุมนุมหรือจัดกิจกรรมทางการเมือง นอกจากนั้นกรุงเทพมหานครได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการเหตุการณ์รักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่สนามหลวงเป็นหน่วยงานของราชการสังกัดกรุงเทพมหานครดูแลความสงบเรียบร้อยภายในท้องสนามหลวง{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==