ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงมังกูบูมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฟร็องซัว (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ลบส่วนที่ไม่มีอ้างอิง
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อ = เจ้าหญิงมังกูบูมี <br>มกุฎราชกุมารีแห่งยกยาการ์ตา
| ภาพ = Fileไฟล์:GKR Mangkubumi.jpg
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ = File:GKR Mangkubumi.jpg
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระนาม = เจ้าหญิงมังกูบูมี มกุฎราชกุมารีแห่งยกยาการ์ตา
| วันประสูติ = {{วันเกิด-อายุ|2515|2|24}}<br>[[โบโกร์]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]]
| วันสวรรคต =
| พระอิสริยยศ = [[มกุฎราชกุมาร|มกุฎราชุมารี]] แห่ง [[ยกยาการ์ตา]]
| พระราชบิดา = [[ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูเมิงกูบูโวโนที่ 10]]
| พระราชมารดา = [[สมเด็จพระราชินีเฮมัสแห่งยกยาการ์ตามัซ]]
| พระสวามี = เจ้าชายวิโรเนโกโรวีโรเนอโกโร
| พระชายา =
| พระโอรส/ธิดา = อาร์ตี อายาอัยยา ฟาติตีมาซารี<br>ดาซิสทายาดรัซทยา วิโรเนโกโรวีโรเนอโกโร
| ราชวงศ์ =
| ทรงราชย์ =
เส้น 20 ⟶ 18:
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
| สุเหร่าประจำรัชกาล =
|signature =
}}
''' เจ้าหญิงมังกูบูมี มกุฎราชกุมารีแห่งยกยาการ์ตา''' หรือ '''กุสตี ราเดน อาเจง นูมาตินีซารี''' ({{Lang-en|Her Royal Highness Princess Mangkubumi , Crown Princess of Yogyakarta}}) ประสูติเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2515 เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน [[ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10]] และ [[สมเด็จพระราชินีเฮมัสแห่งยกยาการ์ตา]] เป็น องค์รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ยกยาการ์ตา ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2558 จากพระราชบิดา พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ เจ้าชายวิโรเนโกโร เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2545 มีพระธิดาและพระโอรสอย่างละ 1 พระองค์
 
''' เจ้าหญิงมังกูบูมี มกุฎราชกุมารีแห่งยกยาการ์ตา''' ({{lang-jv|ꦩꦁꦑꦸꦨꦸꦩꦶ}}) หรือ '''กุสตีซตี ราเดน อาเจง นูมาตินีซารีนูร์มาลีตาซารี''' ({{Lang-enid|HerGusti RoyalRaden HighnessAjeng Princess Mangkubumi , Crown Princess of YogyakartaNurmalitasari}}) ประสูติเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2515เป็น[[มกุฎราชกุมารี]]แห่ง[[ยกยาการ์ตา]] เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน ของ[[ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูเมิงกูบูโวโนที่ 10]] และ [[สมเด็จพระราชินีเฮมัสแห่งยกยาการ์ตาเฮอมัซ]] เป็น องค์รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ยกยาการ์ตา ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2558 จากพระราชบิดา พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ เจ้าชายวิโรเนโกโรวีโรเนอโกโร เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2545 มีพระธิดาและพระโอรสอย่างละ 1 พระองค์
== ดำรงพระอิสริยยศ และข้อถกเถียง ==
 
ด้วยความที่ เจ้าหญิงมังกูบูมี เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ ซึ่งตามขนบธรรมเนียมของตะวันตกนั้นได้เปลี่ยนแปลงให้พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าผู้ครองแผ่นดิน สามารถปกครองประเทศขึ้นเป็น [[สมเด็จพระราชินีนาถ]] ได้ ทำให้พระราชบิดาของพระองค์นั้น ทรงมีความคิดแต่งตั้งพระราชธิดาพระองค์ใหญ๋ เป็นองค์รัชทายาทในราชบัลลังก์แห่งยกยาการ์ตา ว่าที่สุลต่านหญิง พระองค์แรกของยกยาการ์ตา แต่อีกด้านหนึ่งก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า นี่เป็นการปฏิวัติธรรมเนียมเก่าแก่หลายร้อยปีของรัฐสุลต่านมุสลิมที่ถือเพศชายเป็นใหญ่ เรื่องนี้ได้กลายเป็นชนวนวิวาทะในหมู่พระราชวงศ์ชั้นสูง ซึ่งมองว่าสุลต่านทรงละเมิดกฎการสืบสันตติวงศ์ ทั้งๆ ที่ยังมีพระราชอนุชาอีกหลายพระองค์ที่รอคอยตำแหน่งนี้อยู่ แต่ก็มิอาจะเปลี่ยนแปลงพระราขหฤทัยของพระราชบิดาได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สถาปนาเจ้าหญิงมังกูบูมีเป็น [[มกุฎราชกุมาร|มกุฎราชกุมารี]] แห่ง [[ยกยาการ์ตา]] ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2558 ภายหลังการสถาปนาพระอิสริยยศแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของศรีสุลต่านแห่งยกยาการ์ตานั้น มีพระราชวงศ์หลายพระองค์ออกมาประทานสัมภาษณ์แก่เรื่องนี้หลายพระองค์ แต่มีเพียง 2 พระองค์ ที่ทรงออกพระองค์แรง นั่นคือ
*เจ้าชายตูเมิงกุง จาตีนิงรัต พระญาติชั้นแรกในศรีสุลต่าน
{{คำพูด|สุลต่านหญิงคือสิ่งที่เป็นไปไม่ได้เด็ดขาด สัญลักษณ์อย่างหนึ่งของวังยอกยาการ์ตาคือ ไก่ตัวผู้ ถ้าเรามีสุลต่านหญิง มิต้องเปลี่ยนเป็นแม่ไก่แทนหรือ|เจ้าชายตูเมิงกุง จาตีนิงรัต}}
*เจ้าชายฮาร์โย ประภูกุสุโม พระอนุชาต่างพระมารดาของศรีสุลต่าน
{{คำพูด|จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ข้าพเจ้าคิดว่า สมาชิกราชวงศ์ประมาณ 90% ไม่ให้ความเคารพพระองค์อีกแล้ว|เจ้าชายฮาร์โย}}
== อ้างอิง ==
*http://www.thejakartapost.com/news/2015/05/12/gkr-mangkubumi-adapting-a-new-royal-title.html