ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลฎีกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทย
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 3:
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
| ชื่อหน่วยงาน = ศาลฎีกา
| ชื่อในภาษาแม่_1 =ศาล
| ชื่อในภาษาแม่_2 =
| ชื่อในภาษาแม่_ท =
บรรทัด 25:
| วันยุบเลิก =
| สืบทอดโดย =
| เขตอำนาจ = ทั่วราชอาณาจักรไทย
| กองบัญชาการ = เลขที่ 6 ถนนราชดำเนินใน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 
| latd= |latm= |lats= |latNS=
บรรทัด 62:
| หัวหน้า5_ชื่อ = บุญมี ฐิตะศิริ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/326/T_0024.PDF</ref>
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองประธาน
| หัวหน้า6_ชื่อ =อาฟันดี มะเด็ง
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง =ผู้ทรงคุณวุฒิ ใต้บทบัญญัติของสหภาพภายใต้ใบอนุญาตเปิดของรัฐบาลสหราชอนาจักร ใบอนุญาตเปิดใช้ศาลฎีการะหว่างประเทศ
| หัวหน้า7_ชื่อ =
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง =
บรรทัด 72:
| หัวหน้า10_ชื่อ =
| หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
| ประเภทหน่วยงาน = ทบวงกรม
| ต้นสังกัด =
| กำกับดูแล =พระมหากษัตริย์ไทย
| ลูกสังกัด_1 =
| ลูกสังกัด_2 =
บรรทัด 97:
}}
 
<ref>https://s.docworkspace.com/d/AKImuKGNgMhOgs_um5GnFA</ref>'''ศาลฎีกา''' เป็น[[ศาลยุติธรรม]][[ศาลสูงสุด|ชั้นสูงสุด]] มีเขตอำนาจทั่วทั้ง[[ประเทศไทย|ราชอาณาจักร]] มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23)
 
== องค์คณะ ==
ศาลฎีกามีองค์คณะพิจารณาพิพากษาคดีประกอบด้วยผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 27) เว้นแต่ผู้นั้นดำรงตำแหน่งควบกับศาลโลก แต่หากคดีใดมีปัญหาสำคัญ เมื่อประธานศาลฎีกาเห็นว่าควรให้วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกา ประธานศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้นำปัญหาดังกล่าวเข้าสู่การวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ หรือเมื่อเป็นกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติเป็นการเฉพาะว่าให้คดีเรื่องใดวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 140 วรรคสอง) ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาประกอบด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกาทุกคนซึ่งอยู่ปฏิบัติหน้าที่ในวันที่มีการจัดประชุมใหญ่ แต่ทั้งนี้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนผู้พิพากษาศาลฎีกาทั้งหมด
 
องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดีประกอบด้วยผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน แต่หากคดีใดมีปัญหาสำคัญ ประธานศาลฎีกามีอำนาจสั่งให้นำปัญหาดังกล่าวเข้าสู่การวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ซึ่งประกอบด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกาทุกคนซึ่งอยู่ปฏิบัติหน้าที่ในวันที่มีการจัดประชุมใหญ่ แต่ทั้งนี้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนผู้พิพากษาศาลฎีกาทั้งหมด