ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทเทเนียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 57:
 
สองคุณสมบัติที่มีประโยชน์มากที่สุดของรูปโลหะคือมีความต้านทานการกัดกร่อนและมีอัตราส่วนความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูงกว่าโลหะชนิดใด ๆ<ref>{{cite book|title=TITANIUM: A Technical Guide|year=1988|author=Matthew J. Donachie, Jr.|publisher=ASM International|location=Metals Park, OH|page=11|isbn=0871703092}}</ref> ในสภาวะบริสุทธิ์ ไทเทเนียมมีความแข็งเท่ากับ[[เหล็กกล้า]]บางชนิด แต่เบากว่า 45%<ref name="Barksdale1968p738">{{harvnb|Barksdale|1968|p=738}}</ref> มีด้วยกันสอง[[อัญรูป]]<ref name="TICE6th">{{cite encyclopedia|title=Titanium|encyclopedia=[[Columbia Encyclopedia]]|edition=6th|year=2000–2006|publisher=[[Columbia University Press]]|url=http://www.answers.com/Titanium|location=New York|isbn=0-7876-5015-3}}</ref> และห้า[[ไอโซโทป]]ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ คือ <sup>46</sup>Ti ถึง <sup>50</sup>Ti ซึ่ง <sup>48</sup>Ti มีจำนวนมากที่สุด (73.8%)<ref name="EnvChem">{{cite web|url=http://environmentalchemistry.com/yogi/periodic/Ti-pg2.html#Nuclides|title=Periodic Table of Elements: Ti – Titanium|accessdate=2006-12-26|author=Barbalace, Kenneth L.|year=2006}}</ref> คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของไทเทเนียมคล้ายกับ[[เซอร์โคเนียม]] เพราะทั้งสองมีเลข[[เวเลนซ์อิเล็กตรอน]]เลขเดียวกันและอยู่ใน[[หมู่ในตารางธาตุ|หมู่]]เดียวกันใน[[ตารางธาตุ]]
 
ไทเทเนียมยังมีคุณสมบัติที่สามารถทำสีได้ทางเคมี การใช้ประโยชน์จากคุณสมบัตินี้สามารถนำไปใช้กับงานออกแบบเช่นการก่อสร้างและสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวัน
 
==ลักษณะ==