ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Siamgalileo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
| notes =
}}
 
คณะกู้บ้านกู้เมืองนั้นเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่เหนียวแน่นนักระหว่างทหารหัวเมืองซึ่งจงรักภักดีต่อพระองค์เจ้าบวรเดช พระยาสิทธิสงครามและพวก อีกทั้งพลเรือน (รวมทั้งหม่อมเจ้า ๒-๓ พระองค์) ซึ่งเป็นสมาชิกของคณะชาติซึ่งไม่ได้รับอนุญาตให้ตั้งคณะการเมืองมาก่อนหน้านี้ในสมัยรัฐบาลพระยามโนฯ ดังนั้น จึงคล้ายกับว่าเป็นแนวร่วมระหว่างกลุ่มซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทรงเรียกคำข้างต้นว่าเป็น “พวกนิยมกษัตริย์ในระบอบรัฐธรรมนูญ” กับ “พวกนิยมสมบูรณาญาสิทธิราชอย่างถอนตัวไม่ขึ้น” คณะกู้บ้านกู้เมือง ตั้งความหวังไว้ด้วยว่าทหารบกบางส่วนในกรุงเทพฯ ซึ่งภักดีต่อพระยาทรงสุรเดชจะให้การสนับสนุน หากแต่ว่าทหารบกส่วนนี้ได้วางเฉยและเป็นทีว่าได้ปล่อยข่าวแผนการของคณะกู้บ้านกู้เมืองให้หลวงพิบูลสงครามทราบ[4] นับเป็นปัจจัยที่ทำให้ฝ่าย “กบฏ” มีกำลังน้อยกว่าที่คาด<ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%8A</ref>
 
'''กบฏบวรเดช''' เป็นการกบฏด้วยกำลังเพื่อล้มล้างรัฐบาล[[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พระยาพหลพลพยุหเสนา]] การกบฏเริ่มขึ้นเมื่อ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นับเป็นการกบฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลังการ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติสยาม]] สาเหตุเกิดมาจากความผิดหวังตำแหน่งทางการเมืองของ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] และมีความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่เข้ามาสมทบ