ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 143:
การรักษาด้วยการผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกยังคงเป็นวิธีการรักษาเพียงวิธีเดียวของมะเร็งท่อน้ำดีที่มีโอกาสหาย สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดเนื่องจากตรวจพบว่ามีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองบริเวณไกลนั้น[[อัตรารอดชีวิตที่ 5 ปี]] (5-year survival rate) อยู่ที่ 0%,<ref>{{cite journal |author=Yamamoto M, Takasaki K, Yoshikawa T |title="Lymph Node Metastasis in Intrahepatic Cholangiocarcinoma |journal=Japanese Journal of Clinical Oncology |volume=29 |issue=3 |pages=147–150 |year=1999 |doi=10.1093/jjco/29.3.147 |pmid=10225697}}</ref> และโดยทั่วไปอยู่ที่ 5%<ref>{{cite journal |author=Farley D, Weaver A, Nagorney D |title="Natural history" of unresected cholangiocarcinoma: patient outcome after noncurative intervention |journal=Mayo Clin Proc |volume=70 |issue=5 |pages=425–9 |year=1995 |pmid=7537346 |doi=10.4065/70.5.425}}</ref> ค่ามัธยฐานการรอดชีวิตโดยภาพรวม (overall median duration of survival) สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด ไม่ได้รับการรักษา สุขภาพอื่นๆ ปกติ และมีเนื้องอกอยู่ในตับผ่านทางท่อน้ำดีในตับและหลอดเลือดดำพอร์ทัลตับ ([[hepatic portal vein]]) อยู่ที่น้อยกว่า 6 เดือน<ref>{{cite journal |author= Grove MK, Hermann RE, Vogt DP, Broughan TA |title="Role of radiation after operative palliation in cancer of the proximal bile ducts" |journal=Am J Surg |volume=161| pages=454–458 |year=1991 |doi= 10.1016/0002-9610 (91) 91111-U}}</ref>
 
สำหรับผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โอกาสของการรักษาหายขาดได้นั้นแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนื้องอกและอยู่ที่ว่าสามารถผ่าเอาเนื้องอกนั้นออกได้ทั้งหมดหรือบางส่วน มะเร็งท่อน้ำดีส่วนปลาย ซึ่งเจริญขึ้นจากท่อน้ำดีร่วมนั้นส่วนใหญ่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีการผ่าตัดแบบวิปเปิล ([[Whipple procedure]]) โดยมีอัตราการรอดชีวิตระยะยาว (long-term survival rate) อยู่ที่ระหว่าง 15–25% รายงานชุดหนึ่งกล่าวว่าอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปีของผู้ป่วยที่ไม่มีการแพร่กระจายของโรคไปยังต่อมน้ำเหลืองนั้นอยู่ที่ 54%<ref>งานวิจัยเพื่อหาผลการรักษาด้วยการผ่าตัดของมะเร็งท่อน้ำดีส่วนปลายเช่นตัวอย่างดังนี้
 
มะเร็งท่อน้ำดีส่วนปลาย (distal cholangiocarcinoma) ซึ่งเจริญขึ้นจากท่อน้ำดีร่วมนั้นส่วนใหญ่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีการผ่าตัดแบบ Whipple ([[Whipple procedure]]) โดยมีอัตราการรอดชีวิตระยะยาว (long-term survival rate) อยู่ที่ระหว่าง 15-25% รายงานชุดหนึ่งกล่าวว่าอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปีของผู้ป่วยที่ไม่มีการแพร่กระจายของโรคไปยังต่อมน้ำเหลืองนั้นอยู่ที่ 54%<ref>งานวิจัยเพื่อหาผลการรักษาด้วยการผ่าตัดของมะเร็งท่อน้ำดีส่วนปลายเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Nakeeb A, Pitt H, Sohn T, Coleman J, Abrams R, Piantadosi S, Hruban R, Lillemoe K, Yeo C, Cameron J |title=Cholangiocarcinoma. A spectrum of intrahepatic, perihilar, and distal tumors |journal=Ann Surg |volume=224 |issue=4 |pages=463–73; discussion 473–5 |year=1996 |pmid=8857851 |doi=10.1097/00000658-199610000-00005}}
* {{cite journal |author=Nagorney D, Donohue J, Farnell M, Schleck C, Ilstrup D |title=Outcomes after curative resections of cholangiocarcinoma |journal=Arch Surg |volume=128 |issue=8 |pages=871–7; discussion 877–9 |year=1993 |pmid=8393652}}
* {{cite journal |author=Jang J, Kim S, Park D, Ahn Y, Yoon Y, Choi M, Suh K, Lee K, Park Y |title=Actual long-term outcome of extrahepatic bile duct cancer after surgical resection |journal=Ann Surg |volume=241 |issue=1 |pages=77–84 |year=2005 |pmid=15621994}}
* {{cite journal |author=Bortolasi L, Burgart L, Tsiotos G, Luque-De León E, Sarr M |title=Adenocarcinoma of the distal bile duct. A clinicopathologic outcome analysis after curative resection |journal=Dig Surg |volume=17 |issue=1 |pages=36–41 |year=2000 |pmid=10720830 |doi=10.1159/000018798}}
* {{cite journal |author=Fong Y, Blumgart L, Lin E, Fortner J, Brennan M |title=Outcome of treatment for distal bile duct cancer |journal=Br J Surg |volume=83 |issue=12 |pages=1712–5 |year=1996 |pmid=9038548 |doi=10.1002/bjs.1800831217}}</ref> มะเร็งท่อน้ำดีในตับ (intrahepatic cholangiocarcinoma) ซึ่งเจริญขึ้นมาจากท่อน้ำดีส่วนที่อยู่ในเนื้อตับนั้นส่วนใหญ่รักษาด้วยการตัดเอาเนื้อตับออกบางส่วน มีรายงานหลายชุดกล่าวว่าโอกาสการรอดชีวิตหลังรับการรักษาด้วยการผ่าตัดอยู่ที่ 22-66% โดยผลการรักษาอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่ามีการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังต่อมน้ำเหลืองหรือไม่และการผ่าตัดนั้นสามารถเอาเนื้อมะเร็งออกได้หมดหรือไม่<ref>งานวิจัยเพื่อหาผลการรักษามะเร็งท่อน้ำดีในตับเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Fong Y, Blumgart L, Lin E, Fortner J, Brennan M |title=Outcome of treatment for distal bile duct cancer |journal=Br J Surg |volume=83 |issue=12 |pages=1712–5 |year=1996 |pmid=9038548 |doi=10.1002/bjs.1800831217}}</ref>
 
มะเร็งท่อน้ำดีในตับ (intrahepatic cholangiocarcinoma) ซึ่งเจริญขึ้นมาจากท่อน้ำดีส่วนที่อยู่ในเนื้อตับนั้นส่วนใหญ่รักษาด้วยการตัดเอาเนื้อตับออกบางส่วน มีรายงานหลายชุดกล่าวว่าโอกาสการรอดชีวิตหลังรับการรักษาด้วยการผ่าตัดอยู่ที่ 22-66% โดยผลการรักษาอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับว่ามีการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังต่อมน้ำเหลืองหรือไม่และการผ่าตัดนั้นสามารถเอาเนื้อมะเร็งออกได้หมดหรือไม่<ref>งานวิจัยเพื่อหาผลการรักษามะเร็งท่อน้ำดีในตับเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Nakeeb A, Pitt H, Sohn T, Coleman J, Abrams R, Piantadosi S, Hruban R, Lillemoe K, Yeo C, Cameron J |title=Cholangiocarcinoma. A spectrum of intrahepatic, perihilar, and distal tumors |journal=Ann Surg |volume=224 |issue=4 |pages=463–73; discussion 473–5 |year=1996 |pmid=8857851 |doi=10.1097/00000658-199610000-00005}}
* {{cite journal |author=Lieser M, Barry M, Rowland C, Ilstrup D, Nagorney D |title=Surgical management of intrahepatic cholangiocarcinoma: a 31-year experience |journal=J Hepatobiliary Pancreat Surg |volume=5 |issue=1 |pages=41–7 |year=1998 |pmid=9683753 |doi=10.1007/PL00009949}}
* {{cite journal |author=Valverde A, Bonhomme N, Farges O, Sauvanet A, Flejou J, Belghiti J |title=Resection of intrahepatic cholangiocarcinoma: a Western experience |journal=J Hepatobiliary Pancreat Surg |volume=6 |issue=2 |pages=122–7 |year=1999 |pmid=10398898 |doi=10.1007/s005340050094}}
* {{cite journal |author=Nakagohri T, Asano T, Kinoshita H, Kenmochi T, Urashima T, Miura F, Ochiai T |title=Aggressive surgical resection for hilar-invasive and peripheral intrahepatic cholangiocarcinoma |journal=World J Surg |volume=27 |issue=3 |pages=289–93 |year=2003 |pmid=12607053 |doi=10.1007/s00268-002-6696-7}}
* {{cite journal |author=Weber S, Jarnagin W, Klimstra D, DeMatteo R, Fong Y, Blumgart L |title=Intrahepatic cholangiocarcinoma: resectability, recurrence pattern, and outcomes |journal=J Am Coll Surg |volume=193 |issue=4 |pages=384–91 |year=2001 |pmid=11584966 |doi=10.1016/S1072-7515 (01) 01016-X}}</ref> มะเร็งท่อน้ำดีที่อยู่บริเวณขั้วตับ (perihilar cholangiocarcinoma) ซึ่งเจริญขึ้นมาจากบริเวณตำแหน่งที่ท่อน้ำดีออกมาจากตับนั้นมีโอกาสรักษาได้ด้วยการผ่าตัดน้อยกว่า ในกรณีที่สามารถผ่าตัดได้ส่วนใหญ่ก็ต้องผ่าตัดกินบริเวณกว้าง (aggressive) โดยมักต้องผ่าตัดเอาถุงน้ำดีออก และอาจต้องผ่าตัดเอาบางส่วนของตับออกด้วย ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีบริเวณขั้วตับที่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดนั้นมีรายงานอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปีอยู่ที่ระหว่าง 20-20–50%<ref>งานวิจัยเพื่อประมาณการรอดชีวิตหลังการผ่าตัดมะเร็งท่อน้ำดีบริเวณขั้วตับเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Weber S, Jarnagin W, Klimstra D, DeMatteo R, Fong Y, Blumgart L |title=Intrahepatic cholangiocarcinoma: resectability, recurrence pattern, and outcomes |journal=J Am Coll Surg |volume=193 |issue=4 |pages=384–91 |year=2001 |pmid=11584966 |doi=10.1016/S1072-7515 (01) 01016-X}}</ref>
 
มะเร็งท่อน้ำดีที่อยู่บริเวณขั้วตับ (perihilar cholangiocarcinoma) ซึ่งเจริญขึ้นมาจากบริเวณตำแหน่งที่ท่อน้ำดีออกมาจากตับนั้นมีโอกาสรักษาได้ด้วยการผ่าตัดน้อยกว่า ในกรณีที่สามารถผ่าตัดได้ส่วนใหญ่ก็ต้องผ่าตัดกินบริเวณกว้าง (aggressive) โดยมักต้องผ่าตัดเอาถุงน้ำดีออก และอาจต้องผ่าตัดเอาบางส่วนของตับออกด้วย ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีบริเวณขั้วตับที่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดนั้นมีรายงานอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปีอยู่ที่ระหว่าง 20-50%<ref>งานวิจัยเพื่อประมาณการรอดชีวิตหลังการผ่าตัดมะเร็งท่อน้ำดีบริเวณขั้วตับเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Burke E, Jarnagin W, Hochwald S, Pisters P, Fong Y, Blumgart L |title=Hilar Cholangiocarcinoma: patterns of spread, the importance of hepatic resection for curative operation, and a presurgical clinical staging system |journal=Ann Surg |volume=228 |issue=3 |pages=385–94 |year=1998 |pmid=9742921 |doi=10.1097/00000658-199809000-00011}}
* {{cite journal |author=Tsao J, Nimura Y, Kamiya J, Hayakawa N, Kondo S, Nagino M, Miyachi M, Kanai M, Uesaka K, Oda K, Rossi R, Braasch J, Dugan J |title=Management of hilar cholangiocarcinoma: comparison of an American and a Japanese experience |journal=Ann Surg |volume=232 |issue=2 |pages=166–74 |year=2000 |pmid=10903592 |doi=10.1097/00000658-200008000-00003}}