ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
}}</ref> และในช่วงหลายสิบปีมานี้อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำดีทั่วโลกกำลังเพิ่มขึ้น<ref name="rising">{{cite journal |author=Patel T |title=Worldwide trends in mortality from biliary tract malignancies |journal=BMC Cancer |volume=2 |issue= |pages=10 |year= 2002|pmid=11991810 |doi=10.1186/1471-2407-2-10}}</ref>
 
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งท่อน้ำดี เช่น ท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิ ลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผล [[ตับแข็ง]] ตับอักเสบซี ตับอักเสบบี การติดเชื้อ[[พยาธิใบไม้ตับ]]บางชนิด และการผิดรูปของตับบางชนิด อย่างไรก็ดี บุคคลส่วนใหญ่ไม่สามารถหาปัจจัยเสี่ยงได้ การวินิจฉัยเป็นการตั้งข้อสงสัยโดยอาศัยการทดสอบเลือด การถ่ายภาพทางการแพทย์ การส่องกล้องลำไส้ และบางทีรวมถึงการสำรวจโดยผ่าตัด ยืนยันโรคโดยการตรวจสอบเซลล์จากเนื้องอกภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ตรงแบบเป็น[[มะเร็งชนิดต่อม]]
 
มะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคที่สามารถมีอันตรายถึงตายได้อย่างรวดเร็วและไม่มีทางรักษาหากไม่สามารถตัดเนื้อมะเร็งออกให้หมดได้ ยังไม่มีการรักษาใดๆ ที่มีโอกาสรักษาโรคให้หายได้นอกจาก[[การผ่าตัด]] ในขณะที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่กว่าจะได้รับการวินิจฉัยก็เป็นระยะที่โรคลุกลามไปมากและไม่สามารถผ่าตัดได้แล้ว ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีมักได้รับการดูแลรักษาด้วยการให้[[เคมีบำบัด]]หรือ[[รังสีรักษา]]เป็น[[การรักษาบรรเทา|การรักษาแบบประคับประคอง]] การรักษาด้วยวิธีเหล่านี้ยังใช้ร่วมกับการผ่าตัดหลังการผ่าตัดสำเร็จด้วย [[การวิจัยทางการแพทย์|งานวิจัยทางการแพทย์]]บางสายพยายามใช้วิธีการใหม่ๆ ในการรักษามะเร็งท่อน้ำดี วิธีการเหล่านี้เช่น การรักษาด้วยยาแบบ [[targeted therapy]] (เช่น ยา [[erlotinib]]) หรือ [[photodynamic therapy]] รวมทั้งมีการวิจัยหาทางวินิจฉัยโรคโดยใช้การตรวจวัดระดับของผลผลิตจากเซลล์สโตรมัลของมะเร็ง