ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีอ้างอิง อาจเข้าข่ายโฆษณา
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ลบขาดอ้างอิง-อ้าง pantip +จัดรูปแบบ
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{กล่องข้อมูล สายการบิน
| airline = บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) <br> Thai Airways International
| logo = ไฟล์:Thai Airways Logo.svg
| logo_size = 250px
บรรทัด 215:
|}
</center>
 
=== บริษัทร่วมทุน ===
{{ล้าสมัย}}
[[ไฟล์:VTBS-Thai Airways Check-in counters.JPG|thumb|right|เคาน์เตอร์เช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพมหานคร]]
 
การบินไทยเคยถือหุ้นอยู่ใน[[นกแอร์|สายการบินนกแอร์]]อยู่ 49% นับเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อันดับหนึ่ง<ref>http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/business/20110928/411285/กรุงไทยยอมทีจีขายทิ้งหุ้นนกแอร์165ล้าน.html {{dead link}}</ref> ในปี พ.ศ. 2560 นกแอร์ได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท การบินไทยตัดสินใจไม่ซื้อหุ้นเพิ่ม และสัดส่วนหุ้นนกแอร์ที่ถือโดยการบินไทยลดลงจากเดิม 39.2% เหลือ 21.57% (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)<ref>{{cite web |url=http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000054789 |title=“จุฬางกูร” ผงาดหุ้นใหญ่ “นกแอร์” รวม 28.93% “การบินไทย” ลดเหลือ 21.57% |date= 30 พฤษภาคม 2560 |publisher= [[ผู้จัดการออนไลน์]]|access-date= 1 กรกฎาคม 2560}}</ref>
 
นอกจากนั้นบริษัทการบินไทยยังมีบริษัทย่อยดังต่อไปนี้<ref>http://thai.listedcompany.com/misc/ar/20120404-THAI-AR2011-TH.pdf</ref>
# บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อีสต์เอเชีย จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 55
# บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ไทยไฟลท์เทรนนิ่ง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 40
# บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 24
# บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 22.59
 
=== การบินไทยคาร์โก ===
[[ไฟล์:HS-TGJ 3 B747-4D7 BCF Thai Intl Aws Cargo FRA 30JUn13 (9198871529).jpg|thumb|right|การบินไทยคาร์โก้B747-400BCF HS-THJ]]
บริษัทการบินไทยเคยทำกิจการขนส่งเฉพาะสินค้า โดยมีเครื่องบินขนส่งสินค้าเป็นของบริษัทเองในช่วง ปี พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2526 ด้วยเครื่องบิน Douglas DC-8-62F ทะเบียน HS-TGS
 
และในระหว่างวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2558 ทำการบินโดย B747-400BCF ทะเบียน HS-TGH และ HS-THJ เส้นทางบินได้แก่ทางกรุงเทพแวะเชนไนไปอัมสเตอร์ดัม TG898 กรุงเทพแวะไฮเดอราบัดสิ้นสุดที่แฟรงเฟิร์ต TG890 กรุงเทพแวะไฮเดอราบัดสิ้นสุดที่แฟรงเฟิร์ต TG894 กรุงเทพไปซิดนีย์ TG865 กรุงเทพไปนะริตะ TG862 นะริตะไปเทเปกลับกรุงเทพ TG863 เส้นทางจาก แฟรงเฟิร์ต แวะ [[เซี่ยเหมิน]] สิ้นสุดที่ กรุงเทพ TG897<ref>[https://www.routesonline.com/news/38/airlineroute/241815/thai-cargo-adds-xiamen-service-from-june-2014/?highlight=tg898 THAI Cargo Adds Xiamen Service from June 2014]</ref>
 
นอกเหนือจากนั้นเป็นเครื่องบินที่บริษัทเช่าทำการบินโดยสายการบินอื่น อีก 3 ลำ ได้แก่เครื่องบินทะเบียน N552MC ใช้บินระหว่าง พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2542 เครื่องบินทะเบียน N774SA N775SA ใช้ในปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2554 รวมการบินไทยเคยทำการบินเฉพาะขนส่งสินค้าทั้งหมด 6 ลำ
 
== ครัวการบินไทย ==
''ครัวการบินไทย'' ({{lang-en|THAI Catering Service}}) เริ่มดำเนินกิจการเมื่อวันที่ [[20 เมษายน]] [[พ.ศ. 2503]] โดยเช่าโรงซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบิน และอาคารเล็กอย่างละหนึ่งหลัง ภายในบริเวณท่าอากาศยานกรุงเทพ ที่[[ดอนเมือง]]เป็นแห่งแรก เพื่อทำการผลิตและให้บริการอาหารชนิดต่าง ๆ สำหรับสายการบินไทย และสายการบินอื่นอีกมากกว่า 50 สายการบิน<ref name="catering_profile">[http://www.thaicatering.com/thaicatering/th/about/index.php ข้อมูลเกี่ยวกับฝ่ายครัวการบินไทย] จาก[http://www.thaicatering.com เว็บไซต์ฝ่ายครัวการบินไทย]</ref>
 
สำนักงานของครัวการบินไทย มีสองแห่งคือ อาคารขนาดใหญ่บนพื้นที่ 90,000 ตารางเมตร ภายในบริเวณ[[ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ]] ซึ่งใช้เทคโนโลยีการผลิตอันทันสมัย เพื่อผลิตอาหารสำหรับรองรับในส่วนของสายการบินไทย และคำสั่งจากลูกค้าทุกสายการบิน โดยปัจจุบันมีกำลังการผลิตอาหารจำนวนมากกว่า 87,000 มื้อต่อวัน ส่วนสำนักงานอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ภายในบริเวณ[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] เพื่อสนับสนุนการกลับมาเปิดดำเนินการบินอีกครั้ง ตลอดจนรองรับความต้องการของเที่ยวบินภายในประเทศ รวมทั้งกิจการภาคพื้นดินอย่างการผลิตขนมอบ (Bakery) และการจัดเลี้ยงต่าง ๆ <ref name="catering_profile"/> โดยมีศักยภาพผลิตอาหารได้สูงสุด 49,000 มื้อต่อวัน
 
ครัวการบินไทยมีผลงานที่สำคัญคือ เป็นผู้ดำเนินการผลิตและให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม แก่นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ในการแข่งขันกีฬา[[เอเชียนเกมส์]][[เอเชียนเกมส์ 1998|ครั้งที่ 13]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]], [[กีฬาเฟสปิก|เฟสปิกเกมส์]]ครั้งที่ 7 เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]] และ[[กีฬามหาวิทยาลัยโลก]][[กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007|ฤดูร้อนครั้งที่ 24]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2550]] ที่[[กรุงเทพมหานคร]] รวมถึงในงานไอฉิเอ็กซโป (Aichi Expo) เมื่อปี [[พ.ศ. 2548]] ที่ประเทศญี่ปุ่นด้วย<ref name="catering_profile"/>
 
=== ภัตตาคารเยลโล ออร์คิด ===
''ภัตตาคารเยลโล ออร์คิด'' ({{lang-en|Yellow Orchid Restaurant}}) เปิดให้บริการเป็นแห่งแรก ภายใน[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2515]] และเริ่มให้บริการสาขาแรก ภายใน[[ท่าอากาศยานเชียงใหม่]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2529]]
 
=== พัฟแอนด์พาย ===
''ร้านขนมอบพัฟแอนด์พาย'' ({{lang-en|Puff & Pie Bakery House}}) ก่อตั้งขึ้นราวปลายปี [[พ.ศ. 2538]] โดยครัวการบินไทย และเริ่มเปิดทำการเป็นแห่งแรก เมื่อวันที่ [[19 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]] บริเวณหน้าอาคารรักคุณเท่าฟ้า ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม ตลอดจนบริหารบุคลากรและอุปกรณ์ที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เนื่องจากครัวการบินไทยต้องสูญเสียรายได้ จากการบริการอาหารบนเครื่องบิน (Uplift) เนื่องจาก บมจ.การบินไทย มีนโยบายงดให้บริการอาหาร บนเที่ยวบินที่ไม่ตรงเวลาอาหาร ดังนั้นจึงทดลองเปิดขายขนมชนิดต่าง ๆ ปรากฏว่าได้รับความนิยมจากลูกค้าอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้ครัวการบินไทยมีรายได้เพิ่ม เกินกว่าเป้าหมายที่กำหนด จึงเพิ่มความสำคัญอย่างจริงจัง โดยมีเป้าหมายในการสร้างรายได้ จากกิจการพัฟแอนด์พาย ให้เป็นรายได้หลักอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากงานจัดเลี้ยง รวมถึงจากการผลิตและบริการอาหารบนเที่ยวบิน
 
ดังนั้น ครัวการบินไทยจึงดำเนินการขยายสาขาของร้านพัฟแอนด์พาย โดยแผนระยะแรก จะเปิดขายในพื้นที่ของ บมจ.การบินไทยก่อน เพื่อเป็นสวัสดิการของพนักงาน ทว่าต่อมาได้รับการเรียกร้องจากลูกค้าภายนอก ให้ขยายสาขาเพิ่มขึ้นในที่ต่าง ๆ เพื่อความสามารถในการให้บริการอย่างทั่วถึง ครัวการบินไทยจึงพิจารณาขยายสาขา ในสถานที่[[ราชการ]]และ[[รัฐวิสาหกิจ]]อื่น ตลอดจนร้านพัฟแอนด์พายเฉพาะกิจ ภายใน[[ศูนย์การค้า]]และงานแสดงสินค้าต่าง ๆ ซึ่งได้รับความนิยมจากลูกค้าเป็นอย่างมากและต่อเนื่อง ครัวการบินไทยจึงพิจารณาขยายตลาด โดยเปิดโครงการ Puff & Pie Whole Sales โดยให้บุคคลภายนอกที่สนใจกิจการ เข้าร่วมประกอบธุรกิจในชื่อ "Puff & Pie Supreme Bakery Delight" ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา
 
สำหรับรูปแบบของร้านพัฟแอนด์พายส่วนมาก จะสร้างเป็นร้านค้าขนาดเล็ก (Kiosk) มีหลังคาผ้าใบสีขาวและเหลืองเป็นสัญลักษณ์ จำหน่าย[[อาหารไทย]] [[อาหารจีน]] และ[[อาหาร]]ฝรั่งชนิดปรุงสำเร็จ ในชื่อผลิตภัณฑ์ซื้อกลับบ้าน (Take Home) รวมทั้งผลิตภัณฑ์เอื้องหลวง ที่ฝ่ายผลิตและบริการภาคพื้นเป็นผู้ผลิต วางจำหน่ายร่วมด้วย<ref>[http://www.puffandpie.com/puffandpie/th/about ประวัติความเป็นมาของร้านพัฟแอนด์พาย] จาก[http://www.puffandpie.com เว็บไซต์พัฟแอนด์พาย]</ref>
 
== จุดหมายปลายทาง ==
เส้น 266 ⟶ 308:
* [[ปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์]] ระหว่างประเทศปากีสถาน (กรุงเทพมหานคร-อิสลามาบาด)
* [[รอยัลบรูไนแอร์ไลน์]] ระหว่างประเทศบรูไน (กรุงเทพมหานคร-บันดาร์เซอรีเบอกาวัน)
* [[สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม|SAS]] (SA) * ระหว่างประเทศนอร์เวย์ (สตาวังเงร์-โคเปนเฮเกน) ภายในประเทศนอร์เวย์ (ออสโล-เบอร์เกน/เฮาเกซุนต์/คริสเตียนซานต์/สตาวังเงร์/ทรอนด์เฮม)
* ระหว่างประเทศเดนมาร์ก (โคเปนเฮเกน-กอเทนเบิร์ก/ออสโล/เบอร์เกน/คริสเตียนซานต์/แฟรงก์เฟิร์ต/อัมสเตอร์ดัม/แมนเชสเตอร์/ฮัมเบิร์ก) ภายในประเทศเดนมาร์ก (โคเปนเฮเกน-ออฮุส/อัลบอร์ก)
* ระหว่างประเทศสวีเดน (สต็อกโฮล์ม-ทรอนด์เฮม/ออสโล/อัมสเตอร์ดัม/โคเปนเฮเกน/แฟรงก์เฟิร์ต/ลอนดอน/แมนเชสเตอร์) ภายในประเทศสวีเดน (สต็อกโฮล์ม-กอเทนเบิร์ก/คาลมาร์/อูเมียว/ลูเลียว)
เส้น 278 ⟶ 320:
(OW) = One World member
+ = มีเฉพาะขาไปเท่านั้น
 
<nowiki>*</nowiki> <small>ผู้โดยสารที่เดินทางภายในประเทศญี่ปุ่นโดยทำการบินร่วมภายใต้สายการบินไทยจะได้รับสิทธิอยู่ในประเทศญี่ปุ่นสูงสุด 21 วัน</small>
</div>
 
== ภาพลักษณ์ขององค์กร ==
การบินไทยเป็นหนึ่งในไม่กี่สายการบินที่มีระเบียบการเปลี่ยนเครื่องแบบในตลอดการเดินทาง โดยพนักงานต้อนรับหญิงประจำเที่ยวบินระหว่างประเทศจะต้องเปลี่ยนเครื่องแบบจากชุดสูทสีม่วง (สำหรับแต่งกายนอกห้องโดยสาร) เป็นชุดไทยประเพณี (เห็นได้จากโฆษณาของสายการบิน) ขณะต้อนรับผู้โดยสารที่ขึ้นเครื่องบิน และต้องเปลี่ยนกลับเป็นชุดสูทเมื่อนำผู้โดยสารออกจากเครื่องบิน เว็บไซต์อาสค์เมนจัดอันดับ สุดยอดแอร์โฮสเตทสาวที่ฮอทที่สุด 10 สายการบินทั่วโลก โดยการบินไทยได้อันดับที่ 7 เว็บไซต์อาร์คเมนส์ ให้เหตุผลว่า พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบินดูดีในชุดเครื่องแบบโทนสีม่วง-ทอง รูปร่างหน้าตาสวยงาม การบริการระหว่างการเดินทางดี นอกจากนี้ยังยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นมิตรและมารยาทงามอีกด้วย<ref>http://news.thaiza.com/การบินไทยผงาดอันดับ7แอร์ฯฮอตสุดของโลก/225861/</ref>นอกจากนี้ การบินไทยยังถูกจัดให้เป็นสายการบินที่ดีที่สุด ลำดับ 5 ของโลก<ref>Skytrax</ref>การบินไทยเป็นสายการบินที่คำนึงถึงสุขภาพผู้โดยสารเป็นสำคัญ โดยที่ผ่านมาการบินไทยได้นำเครื่องลงจอดฉุกเฉินที่[[ท่าอากาศยานนะฮะ]]<ref>http://www.kmt.co.th/catalog.php?idp=117</ref>
 
อย่างไรก็ตามเป็นที่ยอมรับ<ref>http://www.manager.co.th/home/viewnews.aspx?NewsID=9550000063064</ref>ว่าการบินไทยมีการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจทางการเมืองโดยข้อเท็จจริงการบินไทยมีกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ 17 คน (นับถึงปี พ.ศ. 2559) <ref>http://www.logisticsdigest.com/news/air-transport/item/8165-52ปีการบินไทย-\'ดีดี\'15-คน.html</ref>
ในวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2548 TG790 ลงฉุกเฉินที่ ท่าอากาศยานแองเคอเรจ [[รัฐอะแลสกา]]<ref>[http://topicstock.pantip.com/blueplanet/topicstock/E3567427/E3567427.htm lชี้แจงสืบเนื่องจาก TG790 ลงฉุกเฉินที่ Alaska]</ref>ซึ่งเป็นการลงจอดนอกแผนการบิน เนื่องจากกรณีผู้โดยสารป่วย
 
ในวันที่ 3 กุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2554 การบินไทยจัดเที่ยวบินพิเศษไปกลับ [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ไปกลับ - [[ท่าอากาศยานนานาชาติไคโร]] เนื่องจากมี [[การปฏิวัติอียิปต์ พ.ศ. 2554]] จึงจัดเที่ยวบินพิเศษรับคนไทยที่ต้องการอพยพ
 
อย่างไรก็ตามเป็นที่ยอมรับ<ref>http://www.manager.co.th/home/viewnews.aspx?NewsID=9550000063064</ref>ว่าการบินไทยมีการแทรกแซงจากผู้มีอำนาจทางการเมืองโดยข้อเท็จจริงการบินไทยมีกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ 17 คน (นับถึงปี พ.ศ. 2559) <ref>http://www.logisticsdigest.com/news/air-transport/item/8165-52ปีการบินไทย-\'ดีดี\'15-คน.html</ref> ในระยะเวลาตลอดที่ทำการบินตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2557 เมื่อเฉลี่ยแล้วกรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทยอยู่ในตำแหน่งเพียง 3 ปี 5 เดือน การแทรกแซงอื่นที่ปรากฏ อาทิ การจัดซื้อเครื่องบิน การจัดเส้นทางบิน การปลดกรรมการผู้จัดการใหญ่ การโยกย้ายกรรมการบริษัท ซึ่งมักจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล
 
=== ตราสัญลักษณ์ ===
เส้น 672 ⟶ 708:
 
=== รอยัลเฟิร์สคลาส (ชั้นหนึ่ง) ===
 
ที่นั่งชั้นหนึ่งของการบินไทยสามารถปรับเอนนอนได้ 180 องศา ประกอบไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ระบบนวดผ่อนคลาย, ไฟอ่านหนังสือ, ปลั๊กไฟส่วนตัว (VAC) 115 โวลต์, จอภาพส่วนตัวขนาด 10.4 นิ้วพร้อมระบบความบันเทิงส่วนตัวผู้โดยสาร ในชั้นรอยัลเฟิร์สคลาสนี้สามารถเลือกเมนูอาหาร จากเมนูต่าง ๆ ทั้ง 22 รายการก่อนขึ้นเครื่องได้อีกด้วย<ref>http://www.thaicabincrew.com/forums/viewtopic.php?t=40347 </ref>
ส่วนเครื่องบิน[[A380|แอร์บัส เอ 380-800]] ที่นั่งโดยสารถูกออกแบบให้เป็นห้องพักผ่อนส่วนตัว มีความห่างระหว่างแถว 83 นิ้ว ความกว้างที่นั่ง 26.5 นิ้ว สามารถปรับเอนนอนเป็นแนวราบได้ถึง 180 องศาและติดตั้งอุปกรณ์สาระบันเทิงอย่างครบครันด้วยจอภาพ AVOD ระบบสัมผัสขนาด 23 นิ้ว ติดตั้งระบบ [[Wi-Fi]] อินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์สื่อสารได้ทุกชนิด พร้อมปลั๊กไฟส่วนตัวสำหรับคอมพิวเตอร์วางตักไว้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้การบินไทยยังติดตั้งห้องน้ำที่มีขนาดใหญ่เป็น 2 เท่าของห้องน้ำปกติ โดยออกแบบให้มีพื้นที่ส่วนตัวสำหรับให้ผู้โดยสารชั้นหนึ่งแต่งตัวได้อย่างสะดวกสบายด้วยเช่นกัน<ref>http://www.prthaiairways.com/thaiair_4p/front/airbus_a380.php?lg=th&scat=0</ref>
เส้น 696 ⟶ 731:
แอร์บัส [[แอร์บัส เอ 330|A33H]] 7 ลำ, [[แอร์บัส เอ 380|A380-800]] 6 ลำ, โบอิง [[โบอิง 747|B747-400]] 6 ลำ, โบอิง [[โบอิง 777|B777-300ER]] จะถูกติดตั้งระบบมัลติมีเดีย (AVOD) ระบบปฏิบัติการ Panasonic eX2 หน้าจอระบบสัมผัส 10.6 นิ้ว
และเครื่องบินแบบ โบอิง [[โบอิง 787|B787-8]] จะถูกติดตั้งระบบมัลติมีเดีย (AVOD) ระบบปฏิบัติการ Panasonic eX3 หน้าจอระบบสัมผัส 11 นิ้ว
 
=== นิตยสารประจำเที่ยวบิน ===
[[ไฟล์:SawasdeeMag_May1996.jpg|120px|thumb|นิตยสาร "สวัสดี"]]
 
[[นิตยสาร]]ประจำเที่ยวบิน (Inflight Magazine) ของการบินไทย มีชื่อว่า "''สวัสดี'' " ({{lang-en|Sawasdee}}) ออกเป็นฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือน[[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] เนื้อหาส่วนมากนำเสนอบทความสารคดี ว่าด้วยความเป็นไทย โดยเฉพาะประเพณีและวัฒนธรรม ที่เขียนขึ้นใหม่โดยเฉพาะเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ทั้งฉบับ มิได้นำบทความที่เคยตีพิมพ์ในนิตยสารอื่นมาลงซ้ำ นอกจากนั้น ยังมีภาพประกอบที่สวยงามโดดเด่นอีกด้วย
 
นิตยสารประจำเที่ยวบินของเดินอากาศไทย มีชื่อว่า "''กินรี "'' ({{lang-en|Kinnaree}}) ออกเป็นฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือน[[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2527]] เนื้อหาส่วนมากนำเสนอบทความสารคดี ว่าด้วยสารบันเทิงปกิณกะ โดยเฉพาะความเป็นไทย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ซึ่งเขียนขึ้นใหม่โดยเฉพาะเป็น[[ภาษาไทย]]ทั้งฉบับ อนึ่ง ในเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2531]] กินรีออกฉบับพิเศษ "41 ปี เดินอากาศไทย" ก่อนที่จะรวมกิจการเข้ากับการบินไทย ในวันที่ 1 เมษายนด้วย
 
หลังจากนั้น การบินไทยจึงเป็นเจ้าของนิตยสารทั้งสองฉบับ โดยสวัสดียังคงเป็นนิตยสารประจำเที่ยวบินระหว่างประเทศ และกินรีกลายเป็นนิตยสารประจำเที่ยวบินภายในประเทศ จนกระทั่งในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2552]] มีการเปลี่ยนแปลงให้นิตยสารสวัสดี ตีพิมพ์เป็นสองภาษาควบคู่กัน โดยให้บริการทั้งเที่ยวบินระหว่างประเทศและภายในประเทศ ส่วนนิตยสารกินรี การบินไทยขายกิจการไปให้กับ[[ธนาคารกรุงเทพ]] เพื่อใช้เป็นชื่อนิตยสารสำหรับลูกค้าธนาคารที่เป็นสมาชิก
 
== อุบัติการณ์และอุบัติเหตุ ==
เส้น 730 ⟶ 774:
*3 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - การบินไทยเที่ยวบินที่ 349 เครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 330|แอร์บัส 330-300]] ทะเบียน HS-TEQ ของการบินไทย เกิดอุบัติการณ์เครื่องบินชนนกขณะลงจอดที่สนามบินอิสลามาบาด<ref>http://avherald.com/h?article=4be96a52&opt=0</ref>
*8 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - [[การบินไทย_เที่ยวบินที่_679#อุบัติการณ์ครั้งที่_2|การบินไทยเที่ยวบินที่ 679]] เครื่องบิน โบอิง 747-400 ทะเบียน HS-TGF ของการบินไทย จาก[[กวางโจว]]ไป[[กรุงเทพ]] เกิดอุบัติการณ์เครื่องลื่นไถลออกนอกรันเวย์
 
== บริษัทร่วมทุน ==
{{ล้าสมัย}}
[[ไฟล์:VTBS-Thai Airways Check-in counters.JPG|thumb|right|เคาน์เตอร์เช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพมหานคร]]
 
การบินไทยเคยถือหุ้นอยู่ใน[[นกแอร์|สายการบินนกแอร์]]อยู่ 49% นับเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อันดับหนึ่ง<ref>http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/business/20110928/411285/กรุงไทยยอมทีจีขายทิ้งหุ้นนกแอร์165ล้าน.html {{dead link}}</ref> ในปี พ.ศ. 2560 นกแอร์ได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท การบินไทยตัดสินใจไม่ซื้อหุ้นเพิ่ม และสัดส่วนหุ้นนกแอร์ที่ถือโดยการบินไทยลดลงจากเดิม 39.2% เหลือ 21.57% (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)<ref>{{cite web |url=http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000054789 |title=“จุฬางกูร” ผงาดหุ้นใหญ่ “นกแอร์” รวม 28.93% “การบินไทย” ลดเหลือ 21.57% |date= 30 พฤษภาคม 2560 |publisher= [[ผู้จัดการออนไลน์]]|access-date= 1 กรกฎาคม 2560}}</ref>
 
นอกจากนั้นบริษัทการบินไทยยังมีบริษัทย่อยดังต่อไปนี้<ref>http://thai.listedcompany.com/misc/ar/20120404-THAI-AR2011-TH.pdf</ref>
# บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อีสต์เอเชีย จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 55
# บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ไทยไฟลท์เทรนนิ่ง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ทัวร์เอื้องหลวง จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
# บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 40
# บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 30
# บริษัท โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 24
# บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ถือหุ้นร้อยละ 22.59
== การบินไทยคาร์โก ==
[[ไฟล์:HS-TGJ 3 B747-4D7 BCF Thai Intl Aws Cargo FRA 30JUn13 (9198871529).jpg|thumb|right|การบินไทยคาร์โก้B747-400BCF HS-THJ]]
บริษัทการบินไทยเคยทำกิจการขนส่งเฉพาะสินค้า โดยมีเครื่องบินขนส่งสินค้าเป็นของบริษัทเองในช่วง ปี พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2526 ด้วยเครื่องบิน Douglas DC-8-62F ทะเบียน HS-TGS
 
และในระหว่างวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2558 ทำการบินโดย B747-400BCF ทะเบียน HS-TGH และ HS-THJ เส้นทางบินได้แก่ทางกรุงเทพแวะเชนไนไปอัมสเตอร์ดัม TG898 กรุงเทพแวะไฮเดอราบัดสิ้นสุดที่แฟรงเฟิร์ต TG890 กรุงเทพแวะไฮเดอราบัดสิ้นสุดที่แฟรงเฟิร์ต TG894 กรุงเทพไปซิดนีย์ TG865 กรุงเทพไปนะริตะ TG862 นะริตะไปเทเปกลับกรุงเทพ TG863 เส้นทางจาก แฟรงเฟิร์ต แวะ [[เซี่ยเหมิน]] สิ้นสุดที่ กรุงเทพ TG897<ref>[https://www.routesonline.com/news/38/airlineroute/241815/thai-cargo-adds-xiamen-service-from-june-2014/?highlight=tg898 THAI Cargo Adds Xiamen Service from June 2014]</ref>
 
นอกเหนือจากนั้นเป็นเครื่องบินที่บริษัทเช่าทำการบินโดยสายการบินอื่น อีก 3 ลำ ได้แก่เครื่องบินทะเบียน N552MC ใช้บินระหว่าง พ.ศ. 2539 ถึง พ.ศ. 2542
 
เครื่องบินทะเบียน N774SA N775SA ใช้ในปี พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2554 รวมการบินไทยเคยทำการบินเฉพาะขนส่งสินค้าทั้งหมด 6 ลำ
 
== ครัวการบินไทย ==
''ครัวการบินไทย'' ({{lang-en|THAI Catering Service}}) เริ่มดำเนินกิจการเมื่อวันที่ [[20 เมษายน]] [[พ.ศ. 2503]] โดยเช่าโรงซ่อมบำรุงรักษาเครื่องบิน และอาคารเล็กอย่างละหนึ่งหลัง ภายในบริเวณท่าอากาศยานกรุงเทพ ที่[[ดอนเมือง]]เป็นแห่งแรก เพื่อทำการผลิตและให้บริการอาหารชนิดต่าง ๆ สำหรับสายการบินไทย และสายการบินอื่นอีกมากกว่า 50 สายการบิน<ref name="catering_profile">[http://www.thaicatering.com/thaicatering/th/about/index.php ข้อมูลเกี่ยวกับฝ่ายครัวการบินไทย] จาก[http://www.thaicatering.com เว็บไซต์ฝ่ายครัวการบินไทย]</ref>
 
สำนักงานของครัวการบินไทย มีสองแห่งคือ อาคารขนาดใหญ่บนพื้นที่ 90,000 ตารางเมตร ภายในบริเวณ[[ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ]] ซึ่งใช้เทคโนโลยีการผลิตอันทันสมัย เพื่อผลิตอาหารสำหรับรองรับในส่วนของสายการบินไทย และคำสั่งจากลูกค้าทุกสายการบิน โดยปัจจุบันมีกำลังการผลิตอาหารจำนวนมากกว่า 87,000 มื้อต่อวัน ส่วนสำนักงานอีกแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ภายในบริเวณ[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] เพื่อสนับสนุนการกลับมาเปิดดำเนินการบินอีกครั้ง ตลอดจนรองรับความต้องการของเที่ยวบินภายในประเทศ รวมทั้งกิจการภาคพื้นดินอย่างการผลิตขนมอบ (Bakery) และการจัดเลี้ยงต่าง ๆ <ref name="catering_profile"/> โดยมีศักยภาพผลิตอาหารได้สูงสุด 49,000 มื้อต่อวัน
 
ครัวการบินไทยมีผลงานที่สำคัญคือ เป็นผู้ดำเนินการผลิตและให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม แก่นักกีฬาและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ในการแข่งขันกีฬา[[เอเชียนเกมส์]][[เอเชียนเกมส์ 1998|ครั้งที่ 13]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]], [[กีฬาเฟสปิก|เฟสปิกเกมส์]]ครั้งที่ 7 เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]] และ[[กีฬามหาวิทยาลัยโลก]][[กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007|ฤดูร้อนครั้งที่ 24]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2550]] ที่[[กรุงเทพมหานคร]] รวมถึงในงานไอฉิเอ็กซโป (Aichi Expo) เมื่อปี [[พ.ศ. 2548]] ที่ประเทศญี่ปุ่นด้วย<ref name="catering_profile"/>
 
=== ภัตตาคารเยลโล ออร์คิด ===
''ภัตตาคารเยลโล ออร์คิด'' ({{lang-en|Yellow Orchid Restaurant}}) เปิดให้บริการเป็นแห่งแรก ภายใน[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2515]] และเริ่มให้บริการสาขาแรก ภายใน[[ท่าอากาศยานเชียงใหม่]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2529]]
 
=== พัฟแอนด์พาย ===
''ร้านขนมอบพัฟแอนด์พาย'' ({{lang-en|Puff & Pie Bakery House}}) ก่อตั้งขึ้นราวปลายปี [[พ.ศ. 2538]] โดยครัวการบินไทย และเริ่มเปิดทำการเป็นแห่งแรก เมื่อวันที่ [[19 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]] บริเวณหน้าอาคารรักคุณเท่าฟ้า ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้เพิ่ม ตลอดจนบริหารบุคลากรและอุปกรณ์ที่มีอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เนื่องจากครัวการบินไทยต้องสูญเสียรายได้ จากการบริการอาหารบนเครื่องบิน (Uplift) เนื่องจาก บมจ.การบินไทย มีนโยบายงดให้บริการอาหาร บนเที่ยวบินที่ไม่ตรงเวลาอาหาร ดังนั้นจึงทดลองเปิดขายขนมชนิดต่าง ๆ ปรากฏว่าได้รับความนิยมจากลูกค้าอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้ครัวการบินไทยมีรายได้เพิ่ม เกินกว่าเป้าหมายที่กำหนด จึงเพิ่มความสำคัญอย่างจริงจัง โดยมีเป้าหมายในการสร้างรายได้ จากกิจการพัฟแอนด์พาย ให้เป็นรายได้หลักอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากงานจัดเลี้ยง รวมถึงจากการผลิตและบริการอาหารบนเที่ยวบิน
 
ดังนั้น ครัวการบินไทยจึงดำเนินการขยายสาขาของร้านพัฟแอนด์พาย โดยแผนระยะแรก จะเปิดขายในพื้นที่ของ บมจ.การบินไทยก่อน เพื่อเป็นสวัสดิการของพนักงาน ทว่าต่อมาได้รับการเรียกร้องจากลูกค้าภายนอก ให้ขยายสาขาเพิ่มขึ้นในที่ต่าง ๆ เพื่อความสามารถในการให้บริการอย่างทั่วถึง ครัวการบินไทยจึงพิจารณาขยายสาขา ในสถานที่[[ราชการ]]และ[[รัฐวิสาหกิจ]]อื่น ตลอดจนร้านพัฟแอนด์พายเฉพาะกิจ ภายใน[[ศูนย์การค้า]]และงานแสดงสินค้าต่าง ๆ ซึ่งได้รับความนิยมจากลูกค้าเป็นอย่างมากและต่อเนื่อง ครัวการบินไทยจึงพิจารณาขยายตลาด โดยเปิดโครงการ Puff & Pie Whole Sales โดยให้บุคคลภายนอกที่สนใจกิจการ เข้าร่วมประกอบธุรกิจในชื่อ "Puff & Pie Supreme Bakery Delight" ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา
 
สำหรับรูปแบบของร้านพัฟแอนด์พายส่วนมาก จะสร้างเป็นร้านค้าขนาดเล็ก (Kiosk) มีหลังคาผ้าใบสีขาวและเหลืองเป็นสัญลักษณ์ จำหน่าย[[อาหารไทย]] [[อาหารจีน]] และ[[อาหาร]]ฝรั่งชนิดปรุงสำเร็จ ในชื่อผลิตภัณฑ์ซื้อกลับบ้าน (Take Home) รวมทั้งผลิตภัณฑ์เอื้องหลวง ที่ฝ่ายผลิตและบริการภาคพื้นเป็นผู้ผลิต วางจำหน่ายร่วมด้วย<ref>[http://www.puffandpie.com/puffandpie/th/about ประวัติความเป็นมาของร้านพัฟแอนด์พาย] จาก[http://www.puffandpie.com เว็บไซต์พัฟแอนด์พาย]</ref>
 
== นิตยสารประจำเที่ยวบิน ==
[[ไฟล์:SawasdeeMag_May1996.jpg|120px|thumb|นิตยสาร "สวัสดี"]]
 
[[นิตยสาร]]ประจำเที่ยวบิน (Inflight Magazine) ของการบินไทย มีชื่อว่า "''สวัสดี'' " ({{lang-en|Sawasdee}}) ออกเป็นฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือน[[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] เนื้อหาส่วนมากนำเสนอบทความสารคดี ว่าด้วยความเป็นไทย โดยเฉพาะประเพณีและวัฒนธรรม ที่เขียนขึ้นใหม่โดยเฉพาะเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]ทั้งฉบับ มิได้นำบทความที่เคยตีพิมพ์ในนิตยสารอื่นมาลงซ้ำ นอกจากนั้น ยังมีภาพประกอบที่สวยงามโดดเด่นอีกด้วย
 
นิตยสารประจำเที่ยวบินของเดินอากาศไทย มีชื่อว่า "''กินรี "'' ({{lang-en|Kinnaree}}) ออกเป็นฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือน[[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2527]] เนื้อหาส่วนมากนำเสนอบทความสารคดี ว่าด้วยสารบันเทิงปกิณกะ โดยเฉพาะความเป็นไทย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ซึ่งเขียนขึ้นใหม่โดยเฉพาะเป็น[[ภาษาไทย]]ทั้งฉบับ อนึ่ง ในเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2531]] กินรีออกฉบับพิเศษ "41 ปี เดินอากาศไทย" ก่อนที่จะรวมกิจการเข้ากับการบินไทย ในวันที่ 1 เมษายนด้วย
 
หลังจากนั้น การบินไทยจึงเป็นเจ้าของนิตยสารทั้งสองฉบับ โดยสวัสดียังคงเป็นนิตยสารประจำเที่ยวบินระหว่างประเทศ และกินรีกลายเป็นนิตยสารประจำเที่ยวบินภายในประเทศ จนกระทั่งในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2552]] มีการเปลี่ยนแปลงให้นิตยสารสวัสดี ตีพิมพ์เป็นสองภาษาควบคู่กัน โดยให้บริการทั้งเที่ยวบินระหว่างประเทศและภายในประเทศ ส่วนนิตยสารกินรี การบินไทยขายกิจการไปให้กับ[[ธนาคารกรุงเทพ]] เพื่อใช้เป็นชื่อนิตยสารสำหรับลูกค้าธนาคารที่เป็นสมาชิก
 
== การบินไทยไขจักรวาล ==
การบินไทยเป็นผู้สนับสนุนให้มี[[รายการโทรทัศน์]] ประเภทตอบปัญหาชิงรางวัลและทุนการศึกษาแก่[[เยาวชน]] ซึ่งมีชื่อว่า "''การบินไทยไขจักรวาล"'' ที่จัดแข่งขันระหว่าง[[นักเรียน]]ระดับชั้น[[มัธยมศึกษา]]ผู้แทน[[โรงเรียน]]ต่าง ๆ กลุ่มละสามคน โดยแต่ละครั้งจะแข่งขันกันระหว่างสองโรงเรียน ดำเนินรายการโดย พลตรีถาวร ช่วยประสิทธิ์ (พ.ศ. 2518-2521) และ[[หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์]] (พ.ศ. 2521-2546) (เวลาต่อมาจึงได้เพิ่ม รัตน์มณี มณีรัตน์ เป็นพิธีกรดำเนินรายการร่วมไปด้วย ซึ่งบางครั้งทำหน้าที่ดำเนินรายการแทนเพียงคนเดียว) ออกอากาศทุก[[วันอังคาร]] สัปดาห์ที่ 1 และ 3 ของเดือน เวลา 17:00-17:30 น. (ต่อมาย้ายไปออกอากาศทุกวันศุกร์ สัปดาห์และเวลาออกอากาศเดียวกัน) ถ่ายทอดสดจากห้องส่ง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] เป็นระยะเวลาถึง 28 ปี ระหว่าง [[พ.ศ. 2518]]-[[พ.ศ. 2546]] ทั้งนี้ นักเรียนที่ชนะการตอบปัญหาประจำสัปดาห์ จะได้รับทุนการศึกษา ส่วนนักเรียนที่ชนะเลิศการตอบปัญหาประจำปี จะได้รับรางวัลเป็นตั๋วเครื่องบินไปกลับต่างประเทศ พร้อมกิจกรรมทัศนศึกษา ซึ่งการบินไทยเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด
 
== ตดีความ ==
== กรณีฟ้องร้องบริษัทต่างประเทศ ==
การบินไทยได้ฟ้องร้องบริษัทโคอิโตะ ในกรณีที่ไม่สามารถติดตั้งเก้าอี้โดยสารภายในเครื่องบิน[[แอร์บัส เอ 330]] ในชั้นประหยัดทั้ง 5 ลำได้ส่งผลให้การบินไทยเสียโอกาสในการนำเครื่องบินบริการแก่ผู้โดยสาร ค่าเสียโอกาสในการบำรุงเครื่องบินและยังต้องหาบริการอื่นเพื่อดำเนินการในการติดตั้งเก้าอี้โดยสารใหม่ กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อการบินไทยว่าจ้างบริษัทโคอิโตะติดตั้งเก้าอี้ในชั้นประหยัดโดยในระยะแรกเป็นไปด้วยดีแต่เมื่อถึงต้นปี พ.ศ. 2553 บริษัทดังกล่าวไม่ได้การรับรองจากกรมการบินประเทศญี่ปุ่นเนื่องจากการที่ดังกล่าวบริษัทเปลี่ยนมาตรฐาน ส่งผลให้ 2 รายการ จาก 18 รายการ ไม่ได้รับการรับรองความปลอดภัยจากประเทศญี่ปุ่น<ref>http://www.komchadluek.net/detail/20100111/44131/การบินไทยเล็งฟ้องโคดิโตะผลิตเก้าอี้เร่งหารายใหม่แทน.html</ref>เรื่องดังกล่าวนอกจากกระทบต้องเครื่องบินแบบ[[แอร์บัส เอ 330]] ยังกระทบต่อเครื่องบินแบบโบอิง 777-300 HS-TKE<ref>http://www.hflight.net/forums/topic/7621-thai-airways-tg103-cnx-bkk-ไฟล์ทนี้แอร์น่ารักอ่ะ/page__st__40</ref>โดยเครื่องบินลำดังกล่าวขายที่นั่งได้น้อยลงเพราะต้องขายเฉพาะที่นั่งที่ติดตั้งจากบริษัทโคอิโตะเพียงส่วนหนึ่งก่อนที่บริษัทดังกล่าวจะถูกถอนใบอนุญาต<ref>http://www.thaiairways.com/thai-services/in-the-air/downloads/773.pdf</ref>
 
เส้น 792 ⟶ 784:
8 ลำต่อมาตั้งแต่ HS-TEN ถึง HS-TEU A330 ก็เป็นอีกแบบหนึ่งซึ่งมีจอส่วนตัวให้ผู้โดยสาร ใช้เครื่องยนต์ Rolls Royce Trent 700
ส่วนในชุดสุดท้ายเป็นการออกแบบที่นั่งอีกแบบหนึ่งซึ่งทันสมัยมากที่สุดรหัส A33H ใช้เครื่องยนต์ Rolls Royce Trent 700 นอกจากนั้นแล้วใน 4 ลำดังกล่าวการบินไทยได้เริ่มใช้รหัสใหม่เป็น HS-TBA ซึ่งโดยปกติแล้ว[[แอร์บัส เอ 330]] จะใช้รหัสเป็น HS-TE_ ทั้งนี้เพื่อกันความสับสนของนักบินและลูกเรือซึ่งใน 7 ลำดังกล่าวได้เลิกใช้การติดตั้งเก้าอี้ของบริษัทโคอิโตะในชั้นประหยัด
== กรณีซื้อและเช่าเครื่องบินซึ่งผลดำเนินการขาดทุน ==
[[ไฟล์:Boeing 777-FZB, Thai Cargo (Southern Air) JP6806529.jpg|230px|thumb|B777-FZB ทะเบียน N774SA]]
การบินไทยซื้อเครื่องบินแอร์บัส 340 โดยกรรมการใหญ่ผู้จัดการใหญ่ในขณะนั้น นายกนก อภิรดี ซื้อมาโดยวางแผนบินเส้นทางกรุงเทพไปนิวยอร์ก กรุงเทพไปลอสแอนเจลิส ผลของการซื้อเครื่องบินแบบดังกล่าวคือการขาดทุนมหาศาลทั้งผลการดำเนินงานที่ขาดทุนทุกเที่ยวบินที่บินไปนิวยอร์ก<ref>http://www.forbesthailand.com/article_detail.php?article_id=300</ref> และต่อมาก็ขาดทุนทางบัญชี ค่าเสียโอกาส เนื่องจากการบินไทยเลือกที่จะนำเครื่องบินรุ่นดังกล่าวไปจอดไว้ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองผลจากเรื่องนี้นำมาสู่การยึดอำนาจนายกนก อภิรดี<ref>http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000107850</ref> การบินไทยนับจากการซื้อเครื่องบินเมื่อปี พ.ศ. 2548 จนถึงปี พ.ศ. 2559 ไม่สามารถขายเครื่องบินได้เนื่องจากหากขายเครื่องบินรุ่นดังกล่าวจะต้องขายเครื่องบินแบบขาดทุนอย่างมาก จนไม่มีกรรมการผู้จัดการใหญ่คนใดกล้าขายเพราะต้องเผชิญเสียงวิจารณ์ในทางลบอย่างมากจากภายในบริษัทและภายนอกบริษัท อีกทั้งเสี่ยงต่อการถูกสอบสวน ในข้อหาทำให้บริษัท การบินไทย เสียหายนับว่าเป็นวิกฤตจนถึงปัจจุบันที่เครื่องบินไม่สามารถขายได้และมีค่าเสื่อมราคาลงอย่างต่อเนื่อง
 
นอกจากนั้นแล้วในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ดร.[[ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์]] ได้สั่งโยกย้าย นายพฤทธิ์ บุปผาคำ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เนื่องจากผลดำเนินการขาดทุนของการบินไทยคาร์โก้ โดยให้เหตุผลว่า นายพฤทธิ์ กระทำการเกินอำนาจหน้าที่ตนเอง โดยการเซ็นสัญญาเช่าเครื่องบินเพื่อขนส่งสินค้า 2 ลำกับ Southern Air ต้องเป็นหน้าที่ของบอร์ดที่จะต้องมีการพิจารณาและอนุมัติก่อน นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุมาจากการกระทำที่ผิดนโยบาย คือ เดิมการบินไทยมีเป้าหมายจะให้เช่าพื้นที่คาร์โก้ แต่กลับไปเช่าเครื่องบิน<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1279280049&catid=05</ref> ท้ายที่สุดแล้วการบินไทยเช่าพื้นที่คาร์โก้ของเครื่องบินทั้งสองลำ และผลดำเนินการขาดทุนกว่า 100 ล้านบาทจนต้องรีบคืนเครื่องบิน 1 ลำ ก่อนครบสัญญาเช่า
 
== รางวัลที่ได้รับ ==
เส้น 809 ⟶ 796:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
* เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ [http://www.thaiairways.co.th] [http://www.thaiairways.com]
* {{facebook|ThaiAirways.TH}}
* [http://vigportal.mot.go.th/portal/site/PortalMOT/menuitem.3924b9fad3e0f382a88bc955506001ca/ เว็บไซต์ของกระทรวงคมนาคม]
*[https://th.traveligo.com/airlines/thai-airways-international-tg ประวัติของการบินไทย]
* [http://www.thaiairways.co.th/eng/TG/A300-600.php?mid=ab6 รายละเอียดเครื่องบินรุ่นต่าง ๆ ของการบินไทย]
* [http://www.thaitransport-photo.net/index.php รูปและข้อมูลเกี่ยวกับการบินไทย]
* [http://vigportal.mot.go.th/portal/site/PortalMOT/menuitem.5b33fc2b235d3482a88bc955506001ca/ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม]
*[https://pantip.com/topic/39854024/comment1 กรณีศึกษาการบินไทย]
 
{{กระทรวงคมนาคมของไทย}}
เส้น 825 ⟶ 807:
 
[[หมวดหมู่:กระทรวงคมนาคม]]
[[หมวดหมู่:รัฐวิสาหกิจไทย]]
[[หมวดหมู่:สายการบินสัญชาติไทย]]
[[หมวดหมู่:การบินไทย]]