ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏหวันหมาดหลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''กบฏหวันหมาดหลี''' หรือ '''กบฏไทรบุรีพ.ศ.2381-82''' เป็นการกบฏของกลุ่มผู้สนับสนุนอดีตสุลต่านอาหมัดทัจจุดินฮาลิมชาฮ์ (Ahmad Tajuddin Halim Shah) แห่งไทรบุรี หรือตวนกูปะแงหรัน (Tunku Pengeran) เป็นความพยายามในการกอบกู้[[รัฐไทรบุรี]]จากการปกครองของสยามในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
'''กบฏหวันหมาดหลี''' เป็นเหตุการณ์[[กบฏ]]ที่เกิดที่หัวเมืองปักษ์ใต้ รัชสมัยของ[[รัชกาลที่ 3]] เมื่อ[[ปีระกา]] นพศก จ.ศ. 1199 ([[พ.ศ. 2380]]) [[กรมสมเด็จพระศรีสุราลัย]] สมเด็จพระราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สวรรคต มีงานถวายพระเพลิงพระบรมศพในต้น[[ปีจอ]] สัมฤทธิศก จ.ศ. 1200 ([[พ.ศ. 2381]]) บรรดาผู้ว่าราชการในหัวเมืองต่าง ๆ ได้เดินทางเข้ามาร่วมงานพระราชพิธีใน[[กรุงเทพมหานคร|พระนคร]]กันเกือบหมด จึงไม่มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ดูแล
 
== เหตุการณ์นำ ==
ตนกูมะหะหมัด สะอัด และ ตนกูอับดุลเลาะห์ เชื้อพระวงค์แห่งมลายูได้คบคิดกับ[[หวันหมาดหลี]] ซึ่งเป็น[[โจรสลัด]][[อันดามัน]]ได้ยกกำลังเข้าจู่โจมเมือง[[ไทรบุรี]] ฝ่ายไทยที่ดูแลเมืองไทรบุรีไม่อาจรับมือได้ จึงถอยร่นแตกทัพมาที่เมือง[[พัทลุง]] กบฏจึงได้ใจบุกต่อเข้าไปตีเมือง[[ตรัง]]และสามารถยึดครองเมืองไว้ได้ จากนั้นจึงปล่อยให้หวันหมาดหลีรักษาเมืองไว้โดยลำพัง กองกำลังส่วนใหญ่ได้เดินบกจากตรังข้ามไปพัทลุงและ[[สงขลา]] ตีสงขลาแล้วเกลี่ยกล่อมเจ้าเมืองที่เป็น[[มุสลิม]]ด้วยกันอีก 7 หัวเมืองให้ร่วมมือกันก่อการกบฏ
สุลต่านอาหมัดทัจจุดินฮาลิมชาฮ์ (Ahmad Tajuddin Halim Shah) แห่งไทรบุรี หรือตวนกูปะแงหรัน (Tunku Pengeran) แข็งเมืองไม่ขึ้นต่อสยามและหันไปสร้างสัมพันธไมตรีกับฝ่ายพม่า<ref>[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]. ''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒''.</ref> [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]จึงมีพระราชโองการให้[[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)|พระยานครศรีธรรมราช (น้อย)]] นำทัพเข้ายึดไทรบุรีในพ.ศ. 2364 เมื่อพระยานครฯ (น้อย) เข้ายึดไทรบุรีแล้ว สุลต่านตวนกูปะแงหรันเดินทางหลบหนีไปยัง[[เกาะปีนัง]] ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ (ไทรบุรีได้มอบเกาะปีนังให้แก่อังกฤษตั้งแต่พ.ศ. 2329) ฝ่ายสยามผนวกไทรบุรีเข้ามาปกครองโดยตรงขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช พระภักดีบริรักษ์ (แสง) บุตรชายของเจ้าพระยานครฯ (น้อย) ได้เป็นเจ้าเมืองไทรบุรีแทน ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระยาอภัยธิเบศร์เจ้าเมืองไทรบุรี หลังจากที่สยามเข้ายึดเมืองไทรบุรีแล้ว มีชาวมลายูไทรบุรีจำนวนมากรวมทั้งเชื้อวงศ์ของอดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรันหลบหนีไปยัง[[เกาะลังกาวี]]<ref name=":0">Maziar Mozaffari Falarti (2013). ''Malay Kingship in Kedah: Religion, Trade, and Society''. Rowman & Littlefield.</ref> ในปีต่อมาพ.ศ. 2365 เจ้าพระยานครฯ (น้อย) ยกทัพเรือเข้าโจมตีและยึดเกาะลังกาวีได้สำเร็จ<ref name=":0" /> หวันมูฮาหมัดอาลี (Wan Muhammad Ali) ผู้เป็นบุตรชายของผู้ปกครองเกาะลังกาวี หลบหนีจากเกาะลังกาวีไปยัง[[กลุ่มเกาะมะริด|หมู่เกาะมะริด]]และตะนาวศรี<ref name=":0" /> ในขณะที่ตนกูมูฮาหมัดซาอัด (Tunku Muhammad Sa'ad) หลานชายของอดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรันหลบหนีไปยังแขวงเมือง[[อาเจะฮ์]][[เกาะสุมาตรา]]<ref name=":0" />
 
[[สนธิสัญญาเบอร์นี]] (Burney Treaty) ระหว่างสยามและอังกฤษในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2369 อังกฤษยอมรับอำนาจของสยามเหนือไทรบุรี โดยมีข้อแลกเปลี่ยนให้สยามงดเว้นการรุกราน[[รัฐเปรัก]]และ[[รัฐเซอลาโงร์|เซอลาโงร์]] ตามสัญญาข้อที่สิบสาม อังกฤษให้สัญญาเรื่องการวางตัวเป็นกลางในความขัดแย้งระหว่างสยามและไทรบุรี สัญญาว่าจะนำตัวอดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรันออกจากเกาะปีนังไปพำนักที่อื่น และจะไม่ให้การสนับสนุนแก่กองกำลังของอดีตสุลต่านแห่งไทรบุรีในการกบฏต่อสยาม แม้ว่าอังกฤษจะให้สัญญาเช่นนี้แล้ว แต่เกาะปีนังและ[[ทะเลอันดามัน]]ยังคงเป็นแหล่งของผู้ที่สนับสนุนอดีตสุลต่านในการกอบกู้รัฐไทรบุรี<ref>Wynne, Mervyn Llewelyn (2000). ''Triad Societies: Western Accounts of the History, Sociology and Linguistics of Chinese Secret Societies''. Taylor & Francis.</ref>
ทางพระนคร เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบข่าวก็พิโรธ มีพระบรมราชโองการสั่งให้เจ้าเมืองต่าง ๆ เร่งกลับไปป้องกันดูแลเมืองของตนเอง และทรงวิตกว่า การที่กบฏสามารถประชิดสงขลาได้แล้วจะเป็นเหตุให้มุสลิมทางหัวเมืองหน้าในแถบทะเล[[อ่าวสยาม]]คิดการกบฏขึ้นมาด้วย จึงโปรดให้[[พระยาศรีพิพัฒน์]] (ทัด บุนนาค) เป็นแม่ทัพใหญ่ลงไปปราบ ในส่วนของเมืองตรัง [[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช]] (น้อย)<ref>http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=23320.0</ref> เจ้าเมืองตรัง กลับมาถึงก็ระดมกำลังทหารตั้งค่ายอยู่ที่ ต.ทุ่งค่าย [[อ.ย่านตาขาว]] จ.ตรัง (ในปัจจุบัน) เพื่อเตรียมยกโอบไปตีหวันหมาดหลีซึ่งยึดชัยภูมิอยู่ที่ควนธานี โดยส่งกองกำลังลำเลียงไปทางคลองลำเลียง เมื่อหวันหมาดหลีทราบข่าวว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) ยกทัพมา ประกอบกับรับรู้ถึงกิตติศัพท์การออกทัพจับศึกของเจ้าพระยานคร (น้อย) ว่าเก่งกาจ จึงถอยร่นหนีไป
 
ในพ.ศ. 2374 รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตนกูกูเด่น (Tunku Kudin) ผู้เป็นบุตรของพี่ชายของอดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรัน ยกทัพทางบกจากโปรวินซ์เวลส์เลย์เข้ายึดเมือง[[อาโลร์เซอตาร์]]เมืองหลวงของไทรบุรีได้สำเร็จ พระยาอภัยธิเบศร์ (แสง) เจ้าเมืองไทรบุรีหลบหนีมาอยู่ที่[[พัทลุง]] ฝ่ายหัวเมืองปัตตานีห้าหัวเมืองจากเจ็ดหัวเมืองนำโดย[[พระยาตานี (ต่วนสุหลง)|ต่วนสุหลง]] (Tuan Sulong) เจ้าเมืองปัตตานี เมื่อถูกเกณฑ์กำลังพลไปสู้รบกับไทรบุรีจึงก่อการกบฏขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนจาก[[รัฐกลันตัน]]และ[[รัฐตรังกานู]] ลุกลามไปสู่[[กบฏหัวเมืองมลายูพ.ศ. 2374-75]] ซึ่งหัวเมืองมลายูทั้งไทรบุรี ปัตตานี กลันตัน และตรังกานู ต่างกบฏขึ้นต่อการปกครองของสยาม เจ้าพระยานครฯ (น้อย) สามารถยึดเมืองอาโลร์เซอตาร์คืนมาได้ตนกูกูเด่นฆ่าตัวตาย และ[[เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค)]] เข้ายึดเมืองปัตตานีได้ หลังจากการกบฏหัวเมืองมลายูในพ.ศ. 2375 ทางฝ่ายอังกฤษจึงบังคับให้อดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรันย้ายจากเกาะปียังไปพำนักที่เมือง[[มะละกา]]
หลังจากเหตุการณ์นี้ มีการสืบสวน พบว่ามีข้าราชการและขุนนางจำนวนหนึ่งที่เข้าพวกกบฏ มีการลงโทษต่าง ๆ รวมถึงการประหารชีวิตด้วย
 
ในพ.ศ. 2380 [[กรมสมเด็จพระศรีสุลาลัย]]สิ้นพระชนม์ บรรดาเจ้าเมืองข้าราชการกรมการต่างๆในหัวเมืองภาคใต้รวมทั้งเจ้าพระยานครฯ (น้อย) และ[[พระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง)]] ต่างอยู่ที่กรุงเทพฯเพื่อร่วมพระราชพิธี โดยมีพระวิชิตไกรสร (กล่อม) และพระสุนทรนุรักษ์ (บุญสัง) เป็นผู้รักษาเมืองนครศรีธรรมราชและสงขลาตามลำดับ กลุ่มผู้สนับสนุนอดีตสุลต่านตวนกูปะแงหรันจึงอาศัยโอกาสนี้ในการกอบกู้รัฐไทรบุรี หวันมูอาหมัดอาลีบุตรของผู้ครองเกาะลังกาวี หรือหวันหมาดหลี หรือหวันมาลี (Wan Mali) ได้ตั้งตนขึ้นเป็นโจรสลัดในทะเลอันดามันประกอบด้วยกองกำลังของขาวมลายูและชาว[[อูรักลาโว้ย]] โดยมีฐานที่มั่นอยู่ที่[[อำเภอเกาะยาว|เกาะยาว]]ในแขวงเมือง[[ภูเก็ต|ถลาง]] รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดเตรียมทัพฝ่ายไทรบุรีปรากฏในบันทึกของนายเชอราร์ด ออสบอร์น (Sherard Osborn) แม่ทัพเรือชาวอังกฤษผู้นำเรือเข้าล้อมเมืองไทรบุรี ในหนังสือชื่อเรื่องว่า ''The Blockade of Kedah in 1838: A Midshipman’s Exploits in Malayan Waters''<ref name=":1">Stearn, Duncan. ''Slices of Thai History: From the curious & controversial to the heroic & hardy''. Proglen Trading Co</ref> ตีพิมพ์เมื่อพ.ศ. 2400 ตนกูมูฮาหมัดซาอัดซึ่งได้หลบหนีไปยังแขวงเมืองอาเจะฮ์ได้จัดตั้งกองกำลังขึ้นอย่างเป็นความลับที่บาตูปูเตะ (Batu Puteh) บนเกาะสุมาตราใกล้กับเมืองอาเจะฮ์ ประกอบด้วยกำลังพล 2,000 คน<ref name=":1" />และเรือ 40 ลำ โดยได้รับความช่วยเหลือทางทางอาวุธยุทโปกรณ์จากชาวมลายูและพ่อค้าชาวอังกฤษบนเกาะปีนังซึ่งให้การสนับสนุนแก่อดีตสุลต่าน
== ความเป็นมากบฏหัวเมืองปักษ์ใต้ (หัวเมืองมาลายู) ==
 
== การสู้รบ ==
ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อก่อนการเปลี่ยนผ่านการปกครองจาก “[[จตุสดมภ์]]/[[ระบบเจ้าขุนมูลนาย|ศักดินา]]” สู่ระบอบ “[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]” หรือที่[[สำนักคิดประวัติศาสตร์จารีต]]ใช้คำว่า “[[การปฏิรูประเบียบบริหารราชการแผ่นดิน]]” ในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้น การต่อต้านจากเจ้าเมือง/[[เจ้าประเทศราช]] รวมทั้งการลุกขึ้นสู้ของอดีตไพร่ภายใต้ธง “[[กบฏผู้มีบุญ]]” หาได้จำกัดอยู่เพียงหัวเมืองทางภาคเหนือและภาคอีสานเท่านั้น
'''กบฏหวันหมาดหลี''' เป็นเหตุการณ์[[กบฏ]]ที่เกิดที่หัวเมืองปักษ์ใต้ รัชสมัยของ[[รัชกาลที่ 3]] เมื่อ[[ปีระกา]] นพศก จ.ศ. 1199 ([[พ.ศ. 2380]]) [[กรมสมเด็จพระศรีสุราลัย]] สมเด็จพระราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สวรรคต มีงานถวายพระเพลิงพระบรมศพในต้น[[ปีจอ]] สัมฤทธิศก จ.ศ. 1200 ([[พ.ศ. 2381]]) บรรดาผู้ว่าราชการในหัวเมืองต่าง ๆ ได้เดินทางเข้ามาร่วมงานพระราชพิธีใน[[กรุงเทพมหานคร|พระนคร]]กันเกือบหมด จึงไม่มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ดูแล
 
ตนกูมะหะหมัด สะอัด และ ตนกูอับดุลเลาะห์ เชื้อพระวงค์แห่งมลายูได้คบคิดกับ[[หวันหมาดหลี]] ซึ่งเป็น[[โจรสลัด]][[อันดามัน]]ได้ยกกำลังเข้าจู่โจมเมือง[[ไทรบุรี]] ฝ่ายไทยที่ดูแลเมืองไทรบุรีไม่อาจรับมือได้ จึงถอยร่นแตกทัพมาที่เมือง[[พัทลุง]] กบฏจึงได้ใจบุกต่อเข้าไปตีเมือง[[ตรัง]]และสามารถยึดครองเมืองไว้ได้ จากนั้นจึงปล่อยให้หวันหมาดหลีรักษาเมืองไว้โดยลำพัง กองกำลังส่วนใหญ่ได้เดินบกจากตรังข้ามไปพัทลุงและ[[สงขลา]] ตีสงขลาแล้วเกลี่ยกล่อมเจ้าเมืองที่เป็น[[มุสลิม]]ด้วยกันอีก 7 หัวเมืองให้ร่วมมือกันก่อการกบฏ
ความเคลื่อนไหวอย่างมีนัยสำคัญในดินแดนภาคใต้ของรัฐไท ก่อนจะมาเป็นสยาม ซึ่งเป็นหน่ออ่อนของ “[[ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้]]” สืบเนื่องมาจนถึงห้วงเวลา 15 ปี การก่อเกิดรัฐประชาธิปไตยระหว่างปี พ.ศ. 2475-2490 กระทั่งเกิดการลุกขึ้นสู้ของ “[[กบฏดุซงญอ]]” ในปี พ.ศ. 2491 หลังการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 อันเป็นชัยชนะครั้งแรกของ[[พลังปฏิกิริยา]]/[[ปฏิปักษ์ประชาธิปไตย]]
 
ทางพระนคร เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบข่าวก็พิโรธ มีพระบรมราชโองการสั่งให้เจ้าเมืองต่าง ๆ เร่งกลับไปป้องกันดูแลเมืองของตนเอง และทรงวิตกว่า การที่กบฏสามารถประชิดสงขลาได้แล้วจะเป็นเหตุให้มุสลิมทางหัวเมืองหน้าในแถบทะเล[[อ่าวสยาม]]คิดการกบฏขึ้นมาด้วย จึงโปรดให้[[พระยาศรีพิพัฒน์]] (ทัด บุนนาค) เป็นแม่ทัพใหญ่ลงไปปราบ ในส่วนของเมืองตรัง [[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช]] (น้อย)<ref>http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=23320.0</ref> เจ้าเมืองตรัง กลับมาถึงก็ระดมกำลังทหารตั้งค่ายอยู่ที่ ต.ทุ่งค่าย [[อ.ย่านตาขาว]] จ.ตรัง (ในปัจจุบัน) เพื่อเตรียมยกโอบไปตีหวันหมาดหลีซึ่งยึดชัยภูมิอยู่ที่ควนธานี โดยส่งกองกำลังลำเลียงไปทางคลองลำเลียง เมื่อหวันหมาดหลีทราบข่าวว่าเจ้าพระยานคร (น้อย) ยกทัพมา ประกอบกับรับรู้ถึงกิตติศัพท์การออกทัพจับศึกของเจ้าพระยานคร (น้อย) ว่าเก่งกาจ จึงถอยร่นหนีไป
พัฒนาการของความขัดแย้ง การต่อต้าน และการลุกขึ้นสู้ของพื้นที่ชายแดนใต้ เริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2328 สามปีหลังการสถาปนาราชวงศ์จักรี โดยมีศูนย์กลางอำนาจรัฐที่กรุงเทพฯหรือกรุงรัตนโกสินทร์ แล้ว จากนั้นปัตตานีมิได้ส่งเครื่องบรรณาการให้แก่ราชสำนักตามประเพณีนิยมของหัวเมืองประเทศราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจึงทรงส่ง[[พระยาราชบังสัน (แม้น)]] นำทัพเรือเข้าโจมตีปัตตานี เรือรบอำนาจแห่งรัตนโกสินทร์แล่นตามลำคลองปาแปรีอันเป็นสาขาของ[[แม่น้ำปัตตานี]]ไปจนถึงประตูเมือง [[สุลต่านปัตตานี]]ไม่ยอมจำนน พระยาราชบังสันสั่งให้เรือรบยิงถล่มประตูเมือง กระสุนปืนใหญ่ตกในเมืองหลายนัดทำให้ชาวเมืองปัตตานีล้มตายกันมาก ที่สุดปัตตานีก็ยอมแพ้ต่อ[[ราชอาณาจักรสยาม|พระราชอาณาจักรสยาม]]
 
หลังจากเหตุการณ์นี้ มีการสืบสวน พบว่ามีข้าราชการและขุนนางจำนวนหนึ่งที่เข้าพวกกบฏ มีการลงโทษต่าง ๆ รวมถึงการประหารชีวิตด้วย
ทางราชสำนักที่กรุงเทพฯดำเนินการรวบรวมหัวเมืองทางภาคใต้ทั้ง 4 (เดิมเรียกว่า “หัวเมืองมลายู” มาตั้งแต่ปลายสมัยอยุธยา ประกอบด้วย เมืองไทรบุรี, กลันตัน, ตรังกานู และเมืองปัตตานี ซึ่งในเวลานั้นรวมจังหวัดยะลา, นราธิวาสไว้ด้วย) เข้ามาอยู่ในความปกครองของกรุงรัตนโกสินทร์อีกครั้งหนึ่ง โดยให้ปกครองแบบอิสระ แต่ต้องส่งเครื่องบรรณาการให้กับราชสำนัก 3 ปีต่อครั้ง หากไม่ส่งจะถือว่าเป็นกบฏ ทั้งยังจัดระเบียบการปกครองบริหารราชการแผ่นดินเสียใหม่ ในขั้นต้นให้ไทรบุรีและกลันตันอยู่ในความควบคุมดูแลของสงขลา จากกรณีนี้ได้สร้างความไม่พอใจให้กับเจ้าพระยาปัตตานี สุลต่านมูตะหมัด ไม่ยอมอ่อนน้อม จึงโปรดให้ยกทัพไปตี เมื่อตีได้แล้วโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง [[ต่วน กุราบิดิน]] (เชื้อสายสุลต่านเมืองปัตตานี) เป็นเจ้าเมือง
พ.ศ. 2334 หลังจากแต่งตั้ง[[เต็งกู รามิกดิน]] เป็นเจ้าเมืองปัตตานี ขึ้นตรงต่อเมืองสงขลา ทำให้เต็งกู รามิกดิน ไม่พอใจที่ถูกลดอำนาจ เพราะศักดิ์ศรีน้อยกว่าเมืองสงขลา จึงทำตัวแข็งข้อไม่ขึ้นต่อเมืองสงขลา ได้ชักชวน[[สมเด็จพระจักรพรรดิซา ล็อง|องเชียงสือ]] [[กษัตริย์ญวน]]ในสมัยนั้น ให้นำกองทัพมาตีสยาม แต่ถูกปฏิเสธ จึงหันไปสมคบคิดกับ[[โต๊ะ สาเยก]] กลุ่ม[[โจรสลัดจากอินเดีย]] ก่อการกบฏและแยกกองทัพของเมืองปัตตานีมาตีเมืองสงขลาได้สำเร็จ หลังจากสงขลาตกอยู่ภายใต้อำนาจของปัตตานีแล้ว กองทัพหลวงจากกรุงเทพฯร่วมกับกองทัพเมืองนครศรีธรรมราชได้ยกทัพไปปราบปรามและยึดเมืองสงขลากลับคืนมาได้ พร้อมทั้งมีการแต่งตั้งให้พระยาเมืองสงขลายกทัพไปตีเมืองปัตตานี และสามารถยึดกลับคืนมาอยู่ภายใต้การปกครองของราชสำนักที่กรุงเทพฯตามเดิม
การต่อสู้ในครั้งนั้นนับว่ารุนแรงมาก กำลังของเมืองสงขลาสู้ไม่ได้ต้องใช้กองทัพหลวง เพื่อเป็นการลิดรอนกำลังของเมืองปัตตานีให้กระจายออกไป ไม่ยุ่งยากต่อการแข็งข้อ และหลีกเลี่ยงการรวมอำนาจที่จะก่อการกบฏได้ ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2339 รัชกาลที่ 1 ทรงแก้ปัญหาด้วยการแยกเมืองปัตตานีออกเป็น 7 หัวเมือง คือ '''ปัตตานี [[หนองจิก]] [[อำเภอยะหริ่ง|ยะหริ่ง]] [[อำเภอรามัน|รามัน]] [[อำเภอยะหา|ยะหา]] [[อำเภอสายบุรี|สายบุรี]] และ[[อำเภอระแงะ|ระแงะ]]'''
 
สถานการณ์หลังจากนั้นแทนที่จะสงบราบคาบกลับกลายเป็น “[[คลื่นใต้น้ำ]]” ที่มีการเคลื่อนไหวในทางลับต่อต้านอำนาจราชสำนักที่กรุงเทพฯ
 
ตนกูมะหะหมัด สะอัด และตนกูอับดุลเลาะห์ เชื้อพระวงศ์แห่งมลายู ได้คบคิดกับหวันหมาดหลี ซึ่งเป็นโจรสลัดอันดามัน ยกกำลังเข้าจู่โจมเมืองไทรบุรี ฝ่ายพระยาอภัยธิเบศร (แสง) เจ้าเมืองไทรบุรี พร้อมข้าราชการทั้งฝ่ายปกครองและทหาร ไม่อาจรับมือกองกำลังฝ่ายกบฏได้ จึงถอยร่นมาถึงเมืองพัทลุง ทำให้ฝ่ายกบฏได้ใจบุกต่อเข้าไปตีเมืองตรัง เจ้าเมืองตรังต้านทานไม่ได้ ต้องถอยไปแจ้งข่าวแก่เมืองนคร ฝ่ายกบฏมอบหมายให้หวันหมาดหลีรักษาเมืองไว้โดยลำพังโดยทิ้งกำลังไว้ให้ส่วนหนึ่ง กองกำลังส่วนใหญ่ได้เดินทัพทางบกจากตรังข้ามไปพัทลุงและสงขลา ตีสงขลาพร้อมกับเกลี้ยกล่อมเจ้าเมืองที่เป็นมุสลิมด้วยกันอีก 7 หัวเมือง ให้ร่วมมือกันก่อการกบฏ
 
ฝ่ายราชสำนักที่กรุงเทพฯ เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทราบข่าวก็พิโรธ มีพระบรมราชโองการสั่งให้เจ้าเมืองต่างๆเร่งกลับไปป้องกันดูแลเมืองของตนเอง และทรงวิตกว่าการที่กบฏสามารถประชิดสงขลาได้แล้วจะเป็นเหตุให้มุสลิมทางหัวเมืองหน้าในแถบทะเลอ่าวไทยคิดการกบฏขึ้นมาด้วย จึงโปรดให้พระยาศรีพิพัฒน์ (ทัด บุนนาค) เป็นแม่ทัพใหญ่ลงไปปราบ ในเวลาเดียวกันนั้น เจ้าเมืองสงขลา (เซ่ง) และเจ้าพระยานคร (น้อย) ยังอยู่ในระหว่างการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพกรมสมเด็จพระศรีสุราลัย
สมเด็จพระพันปีหลวงครั้นเมื่อทราบข่าวกบฏจึงรีบเดินทางกลับมาเกณฑ์คนที่เมืองนครศรีธรรมราชและพัทลุงจัดเป็นกองทัพ มอบหมายให้พระยาอภัยธิเบศร (แสง) พระยาวิชิตสรไกร (กล่อม) พระเสนานุชิต (นุช) ซึ่งเป็นบุตรเจ้าพระยานคร (น้อย) ทั้ง 3 คนคุมกำลังประมาณ 4,000 คน ยกไปตีกบฏเมืองไทรบุรีได้สำเร็จภายในเวลาอันรวดเร็ว ส่วนเจ้าพระยานคร (น้อย) นั้นป่วยเป็นโรคลม ไม่สามารถคุมทัพไปด้วยตนเองได้
ขณะที่ทางกรุงเทพฯส่งพระวิชิตณรงค์ (พัด) และพระราชวรินทร์คุมทหารกรุงเทพฯประมาณ 790 คน มาช่วยรักษาเมืองสงขลาไว้ก่อน พวกกบฏมลายูที่ล้อมสงขลาอยู่เมื่อรู้ข่าวทัพนครศรีธรรมราชตีไทรบุรีแตกแล้วและกำลังบ่ายหน้ามาช่วยเมืองสงขลาพร้อมกับทัพกรุงเทพฯ จึงเกิดความเกรงกลัว พากันหนีกลับไปโดยที่ยังไม่ได้ตีเมืองสงขลา
 
แม่ทัพคนสำคัญอีกคนหนึ่งคือ[[เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)]] (ต่อมาดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียงที่ 3 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4) นำกองทัพเมืองชุมพร เมืองปะทิว จำนวน 1,216 คน เข้าร่วมกองทัพหลวงปราบปรามความวุ่นวายในหัวเมืองปักษ์ใต้ (กบฏหวันหมาดหลี) เมืองไทรบุรี ในบังคับบัญชาพระยาเสนาภูเบศร์ แม่ทัพหน้า
 
<br />
การสืบสวนภายหลังพบว่ามีข้าราชการและขุนนางจำนวนหนึ่งที่เข้าพวกกบฏ มีการลงโทษต่างๆรวมถึงการประหารชีวิตระดับหัวหน้าก่อการจำนวนหนึ่งด้วย
จากการปราบปรามอย่างเด็ดขาด แสดงให้เจ้าผู้ครองนครเดิมเห็นว่า กำลังของราชสำนักที่กรุงเทพฯยังคงมีความเป็นปึกแผ่น สามารถบังคับบัญชาหัวเมืองภาคใต้ตอนบนเข้าร่วมปราบกบฏได้ มีผลต่อการ “ปราม” การเคลื่อนไหวในลักษณะเดียวกันไม่ให้เกิดขึ้นได้อีก ดินแดน “[[หัวเมืองทั้ง 7]]” จึงเข้าสู่ช่วงเวลาสงบสันติชั่วคราว ต่อเนื่องกระทั่งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองเข้าสู่[[ระบบมณฑลเทศาภิบาล]]หลังปี พ.ศ. 2435
 
== อ้างอิง ==