ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กบฏบวรเดช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phisisbunon (คุย | ส่วนร่วม)
เชื่อมโยงหน้า
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| partof =
| image = [[ไฟล์:Pitak Ratthathammanun Monument.JPG|250px]]
| caption = อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ (นิยมเรียกกันว่า อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ) หรือ อนุสาวรีย์ปราบกบฏ) อนุสรณ์ของเหตุการณ์
| date = 1111–15 ตุลาคม พ.ศ. 2476
| place = [[กรุงเทพมหานคร]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] และ[[จังหวัดราชบุรี]]
| territory =
| result ={{bulleted list|
| [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]ก่อการไม่สำเร็จต้องหลบหนีออกนอกประเทศ
| อำนาจทางทหารของเหล่าเชื้อพระวงศ์ได้สิ้นสุดลง
}}
| status =
| combatant1 = รัฐบาล พ.อ.[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4|รัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา]]
| combatant2 = [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
| combatant3 =
บรรทัด 27:
}}
 
'''กบฏบวรเดช''' เกิดขึ้นเมื่อ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2476]] นับเป็น[[กบฏ|การกบฏ]]ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทยหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]]ในปี [[พ.ศ. 2475]] สาเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่ากับระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่อง[[สมุดปกเหลือง|เค้าโครงเศรษฐกิจ]]ที่นาย[[ปรีดี พนมยงค์|หลวงประดิษฐ์มนูธรรม]] เป็นผู้เสนอ และถูกมองว่าเป็น "[[คอมมิวนิสต์]]" ชนวนสำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ เป็นผลนำไปสู่การนำกำลังทหารก่อกบฏโดย[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]] อันเป็นที่มาของชื่อ "กบฏบวรเดช" โดยในที่สุดฝ่ายรัฐบาลสามารถปราบปรามคณะกบฏลงได้ ส่วนพระองค์เจ้าบวรเดชหัวหน้าคณะกบฏและชายาได้หนีไปยัง[[ประเทศกัมพูชา]]
 
อนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่บริเวณ[[หลักสี่]] [[บางเขน]] [[กรุงเทพฯ]] ที่เรียกกันว่า "อนุสาวรีย์หลักสี่" นั้น ชื่อจริงคือ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" หรือ "อนุสาวรีย์พิทักษ์ธรรมนูญ" <!-- ธรรมนูญ ไม่ใช่ รัฐธรรมนูญ --> ซึ่งรัฐบาลในสมัยนั้น ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ปราบกบฏบวรเดช