ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมคโอเอส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8896899 สร้างโดย 2405:9800:B900:3183:392D:E775:1DEB:689B (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
BoatThithat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่ม macOS Big Sur
บรรทัด 6:
| developer = [[แอปเปิล (บริษัท)|แอปเปิล]]
| family = [[ยูนิกซ์]]
| supported_platforms = [[x86-64]], [[IA-32]], [[PowerPC]] (ทั้ง 32 และ 64 บิต), [[ARM]]
| source_model = [[Proprietary software]]/[[Closed source software|Closed source]] (บางส่วนเป็น [[ซอฟต์แวร์เสรี]]/[[โอเพนซอร์ส]])
| latest_release_version = [[macOS Mojave|macOS Mojave 10.14.4]]
บรรทัด 148:
|Catalina
|3 มิถุนายน 2562
|7 ตุลาคม 2562
|ช่วงฤดูใบไม้ร่วง 2562
|10.15 beta 1 (19A471t) (3 มิถุนายน 2562)
|-
|macOS 11.0
|Big Sur
|23 มิถุนายน 2562
|ช่วงฤดูใบไม้ร่วง 25622563
|
|}
== ชื่อเรียก ==
เส้น 321 ⟶ 327:
 
=== macOS Catalina (10.15) ===
macOS Catalina ได้เปิดตัวในงาน WWDC 2019 ในวันที่ 3 มิถุนายน 2562 โดยได้ทำการแยก iTunes แตกออกเป็น 3 แอพ (โดยมี [[Apple Music]] , Podscast และ Apple TV ส่วนตัวจัดการ iPhone ไปอยู่ในที่ Finder) , รองรับ SideCar (คือการนำเอา iPad มาเป็นหน้าจอที่สองของ macOS) , เพิ่มฟีเจอร์สำหรับคนพิการ , เพิ่มแอพ Find My โดยสามารถค้นหาเครื่องแมคได้ แม้ว่าเครื่องแมคนั้นปิดอยู่ หรือเครื่องจะออฟไลน์อยู่ก็ตาม , เพิ่มความสามารถ Acitivation Lock , เพิ่ม Screen Time และมาพร้อม API ใหม่ ที่สามารถนำแอพจาก iPad มาทำเป็น macOS ได้ง่ายขึ้น <ref>{{Cite web|url=https://www.apple.com/th/newsroom/2019/06/apple-previews-macos-catalina/|title=Apple เผยตัวอย่าง macOS Catalina|accessdate=5 มิถุนายน 2562|work=Apple}}</ref><ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/hitech/1477009/|title=WWDC 2019 : macOS 10.15 Catalina มาแล้วพร้อมลูกเล่นใหม่เพียบ|work=Sanook|accessdate=5 มิถุนายน 2562}}</ref>
 
=== macOS Big Sur (11.0) ===
ในงาน WWDC 2020 ในวันที่ 23 มิถุนายน 2563 ได้มีการเปิดตัว macOS Big Sur โดยได้มีการปรับปรุงดังต่อไปนี้
 
* เปลี่ยนหน้าตา ยกดีไซน์ใหม่ไปใช้แบบใหม่ ดูสะอาดตามากยิ่งขึ้น
* เพิ่ม Control Center และเปลี่ยนหน้าตาของ Notification Center
* ปรับปรุงแอพ Maps , Photos , Messenge และอื่น ๆ ใหม่ทั้งหมด รวมไปถึง Finder ด้วย
 
และในรุ่นนี้ เป็นรุ่นแรกที่รองรับซีพียูบนสถาปัตยกรรม ARM อย่างเป็นทางการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และประหยัดพลังงานสูงสุด ในทั้งนี้ ยังสามารถใช้กับซีพียู Intel ในสถาปัตยกรรม x86-64 ได้อยู่เช่นเคย และจะเปลี่ยนไปใช้สถาปัตยกรรม ARM สมบูรณ์ในอีก 2 ปี และยังส่งชุดอุปกรณ์พัฒนาที่คล้ายกับ Mac Mini ซึ่งมีซีพียู Apple A12Z Bionic มาให้ผู้พัฒนาใช้งานกัน
 
== ภาษา ==