ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราเร็วของแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Blueglow.jpg|frame|[[ปรากฏการณ์เชเรนคอฟ]] ในเครื่อง[[ปฏิกรณ์นิวเคลียร์]] เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงที่เดินทางในน้ำ]]
 
'''อัตราเร็วของ[[แสง]] (speed of light) '''ใน[[สุญญากาศ]] มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 [[เมตรต่อวินาที]] (หรือ 1,079,252,848.800,800‬ [[กิโลเมตร]]ต่อ[[ชั่วโมง]] หรือประมาณ 186,000.000 [[ไมล์]]ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว '''''[[c]]''''' ซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]]คำว่า celeritas (แปลว่า [[อัตราเร็ว]]) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|ไอน์สไตน์]] แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ของ [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]
 
'''อัตราเร็วของ[[แสง]] (speed of light) '''ใน[[สุญญากาศ]] มีนิยามว่าเท่ากับ 299,792,458 [[เมตรต่อวินาที]] (หรือ 1,079,252,848.800 [[กิโลเมตร]]ต่อ[[ชั่วโมง]] หรือประมาณ 186,000.000 [[ไมล์]]ต่อวินาที หรือ 671,000,000 ไมล์ต่อชั่วโมง) ค่านี้เขียนแทนด้วยตัว '''''[[c]]''''' ซึ่งมาจาก[[ภาษาละติน]]คำว่า celeritas (แปลว่า [[อัตราเร็ว]]) และเรียกว่าเป็นค่าคงที่ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์|ไอน์สไตน์]] แสงเป็นสิ่งที่แปลกประหลาดนั่นคือไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานที่ใด ด้วยเงื่อนไขใด อัตราเร็วของแสงที่ผู้สังเกตคนนั้นวัดได้ จะเท่าเดิมเสมอ ซึ่งขัดกับความรู้สึกของคนทั่วไป แต่เป็นไปตาม [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ของ [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]
 
สังเกตว่าอัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เป็น ''นิยาม'' ไม่ใช่ ''การวัด''
เส้น 10 ⟶ 9:
แสงที่เดินทางผ่านตัวกลางโปร่งแสง (คือไม่เป็นสุญญากาศ) จะมีอัตราเร็วต่ำกว่า c
อัตราส่วนของ c ต่ออัตราเร็วของแสงที่เดินทางผ่านในตัวกลาง เรียกว่า [[ดรรชนีหักเห]]ของตัวกลางนั้น
โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9 ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330 ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012 ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276 ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417 ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309
โดยเมื่อผ่านแก้ว จะมีดรรชนีหักเห 1.5-1.9
 
ผ่านน้ำจะมีดรรชีนีหักเห 1.3330
 
ผ่านเบนซินจะมีดรรชนีหักเห 1.5012
 
ผ่านคาร์บอนไดซัลไฟต์จะมีดรรชนีหักเห 1.6276
 
ผ่านเพชรจะมีดรรชนีหักเห 2.417
 
ผ่านน้ำแข็งจะมีดรรชนีหักเห 1.309
 
การเดินทางข้ามเวลา (time travel)
 
การทดลองการเดินทางด้วยความเร็วแสง และ การย้อนเวลา ค้นพบทฎษฎีใหม่จาก Dr.wavekh เมื่อนักวิทยาศาสตร์ตั้งข้อสันนิฐว่าานการย้อนเวลาเป็นไปได้ แต่อาจมีปรากฏการ paradox หรือ ทฤษฎีความผิดปกติของห้วงเวลา ตัวอย่างเช่น ถ้าเราย้อนเวลากลับไปฆ่าปู่หรือพ่อของเราในในอดีต แล้วใครกันให้กำเนิดเราขึ้นมาเพื่อฆ่าคนเหล่านี้
 
มีทฤษฎีหนึ่ง บอกเราว่าหากสามารถสร้างยานพาหนะที่เร่งความเร็วมากกว่าแสง และควบคุมจุดตกกระทบของแสงก่อนที่จะถึงรูหนอนได้ นั่นไม่ใช่ปัญหาในการย้อนเวลา จากความผิดปกติของทฤษฎี paradox ข้างต้น คิดว่าเมื่อย้อนเวลากลับไปแล้วกระแสของเวลาตามธรรมชาติจะทำให้เราและผู้กำเนิดไม่สามารถพบเจอกันได้เพราะเป็นมิติเวลาคู่ขนานที่ในโลกนั้นมีเรา แต่ไม่มีปู่หรือพ่ออยู่ กับอีกหนึ่งทฤษฏี เราอาจจะไปในมิติที่มีปู่หรือพ่อของเราแต่พวกเราไม่สามารถที่จะเห็นเราได้ด้วยธรรมชาติของกาลเวลาและอวกาศของแสงไม่สามารถทำให้ปู่หรือพ่อของเราและเราสัมผัสหรือจับต้องกันได้ และอีกหนึ่งทฤษฎีสุดท้าย เมื่อเราย้อนเวลากลับไปในมิตินั้นๆแล้ว เราและปู่หรือพ่อของเราสามารถมองเห็นกันได้ตามปกติทั่วไป 1ทฤษฎีแยก เราและปู่หรือพ่อของเราสามารถเจอกันได้พูดคุยกันได้แต่ไม่สามารถเข้าใกล้กันหรือสัมผัสกันได้ในรัศมีที่การเดินทางของแสงกั้นเอาไว้ 2 ทฤษฎีแยก เราและปู่หรือพ่อของเราสามารถเจอกันได้พูดคุยกันได้และสามารถเข้าใกล้หรือสัมผัสกันได้ แต่ไม่สามารถที่จะฆ่าพวกเขาได้
 
ทั้ง2ทฤษฎีนี้สร้างขึ้นมาจาก<u>'''ความคิดผม'''</u>เพื่อการป้องกันเหตุการผิดปกติของ paradox ที่ไม่สามารถเข้าใกล้กันได้นั้นอาจเป็นเพราะธรรมชาติมีปรากฏการต่อสู้กับปรากฏการ paradox อยู่แล้วนั่นเอง ในอีกทางหนึ่ง เราสามารถสัมผัสพวกเขาได้ แต่เมื่อไรที่สมองและร่างกายเราิดและทำการฆ่าปู่หรือพ่อของตัวเอง แสงของธรรมชาติจะส่งเรากลับสู่มิติปัจจุบันโดยทันทีเพื่อไม่ให้เกิดปรากฏการณ์ paradox
 
Dr.wavekh นายเศรษฐพงศ์ สงวนสุข
 
(ยังไม่มีการพิสูจน์ เป็นเพียงแค่ทฤษฎี)
 
== ภาพทั่วไป ==