ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BenBoonnak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]] [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]] [[เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5]] [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]] [[พันธุ์สวลี กิติยากร]]{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
| name = เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์<br>(วร บุนนาค)
| image = เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์.jpg
บรรทัด 23:
}}
'''เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์''' นามเดิม '''วร''' [[สกุลบุนนาค]] (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2371<ref name="ประวัติ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=5|issue=33|pages=288|title=ประวัติของท่านเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (สมุหพระกลาโหม)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2431/033/288.PDF|date=23 ธันวาคม 2431|accessdate= 9 พฤศจิกายน 2561}}</ref> - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า '''วร''' หรือ '''วอน''' เป็นบุตรชายคนโตของ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)]] กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด) <ref name="สายสกุลบุนนาค">[http://www.bunnag.in.th/prarajpannuang014.html ชมรมสายสกุลบุนนาค]</ref>
'''เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์'''เป็นหลานสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ สัมพันธ์กับราชตระกูลสายพระปฐมบรมราชวงศ์ ได้แก่ ราชสกุลอิศรางกูร ต้นราชสกุลคือ[[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศรานุรักษ์]] และ ราชสกุลเทพหัสดิน ต้นราชสกุลคือ[[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์]] ทหารคู่พระองค์ของรัชกาลที่1 ทางภรรยาเอกคือท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาของหลวงแก้วอายัติและท่านลิ้ม บุนนาค สกุลบุนนาคสายตรงชั้นที่ห้า สืบสายในราชินิกุลบุนนาค โดยการสมรสไปกับพระปฐมบรมราชวงศ์ ได้แก่ อุไร อิศรางกูร ณ อยุธยา สกุลบุนนาคชั้นที่หก (ธิดาท่านลิ้ม บุนนาค) สมรสกับเสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา (บิดาของพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี) ก่อนหน้านี้สมรส กับ นายวีระ ชำนาญกิจ สืบสายสกุลบุนนาคในชั้นที่เจ็ดและแปดได้แก่ กนุท (บุนนาค) ชำนาญกิจ ยสฬิ์ศิวะ อิสรสิงหนาท เป็นนามสกุลส่วนนึงในพระนามของ[[สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] พระอนุชาธิราชร่วมพระชนกชนนีกับ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] กฤษนา อิศรางกูร ณ อยุธยา ทิพย์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา อนันต์ สุขะศิริวัฒน์ หลานปู่ของ อิน สุขะศิริวัฒน์ [[มหาดเล็ก]]ใกล้ชิดถวายงานตำหมากและงานส่วนพระองค์ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
 
เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็น''เจ้าหมื่นไวยวรนารถ'' หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตาม[[พระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค)]] ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น''พระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์'' จางวางมหาดเล็ก และเป็น[[ราชทูต]] ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409
สกุลบุนนาคสายตรงชั้นที่ห้า มีผู้สืบเชื้อสายคือ บุตรชายของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอ่วม ได้แก่ [[พระยาประภากรวงศ์วรวุฒิภักดี (ชาย บุนนาค)]] เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) และพระยาราชานุวงศ์ (เล็ก บุนนาค) ตามลำดับ แต่พระยาประภากรวงศ์ (ชาย) ถึงอนิจกรรมในรัชกาลที่ ๕ ทายาท สายตรงของสกุลในชั้นนี้จึงได้แก่ เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) ในรัชกาลที่ ๕ ส่วนพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชื่น บุนนาค) มีบุตรกับคุณหญิงเลื่อน คือ วิเชียร เป็นผู้สืบสกุล ตอนปลายสมัยรัชกาลที่ ๖ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยามนตรีสุริยวงศ์เช่นเดียวกับปู่และบิดา
 
ผู้สืบสกุลบุนนาคสายตรงชั้นที่ ๖ ได้แก่ บุตรชายของเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับท่านผู้หญิง ตลับ คือ พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต็น บุนนาค) และพระยาสุรวงศ์วิวัฒน์ (เตี้ยม บุนนาค) ตามลำดับ พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ ได้เป็นผู้นำของตระกูลนี้ในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ เมื่อท่านบิดาถึงแก่อสัญกรรม
 
สำหรับผู้ที่จะเป็นผู้นำในการสืบสกุลบุนนาคสายตรงเเละสายที่เเตกออกไปนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ท่านผู้นั้นเป็นผู้รักษาสมบัติสำหรับสกุลบุนนาค คือ อัฐิเจ้าคุณพระราชพันธุ์ผู้เป็นต้นสกุล ได้แก่ อัฐิของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) กับเจ้าคุณนวล และสิ่งของบางอย่างซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวแต่ละพระองค์พระราชทานแก่สมเด็จเจ้าพระยาฯ อาทิเช่น พระทนต์ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ซึ่งได้พระราชทานให้เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) เก็บรักษาไว้เมื่อครั้งยังทรงพระชนม์อยู่ สมบัติดังกล่าวนี้รักษามาตั้งแต่ครั้งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) และพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ทรงมอบให้เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) รักษาสืบต่อมา เมื่อท่านถึงแก่อสัญกรรม ก็โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) รักษาสมบัติสำหรับสกุลสืบต่อมา และเมื่อท่านถึงแก่อสัญกรรม ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต็น บุนนาค) เป็นผู้รักษาสมบัติสำหรับสกุลสืบต่อมาจนถึงแผ่นดินสมัยรัชกาล ที่ ๖
 
เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็น''เจ้าหมื่นไวยวรนารถ'' หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตาม[[พระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค)]] ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็น''พระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์'' จางวางมหาดเล็ก และเป็น[[ราชทูต]] ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409
 
ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็น''เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์'' ที่[[สมุหพระกลาโหม]] ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า '''“เจ้าคุณทหาร”''' หรือ “'''เจ้าคุณกลาโหม”''' และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของ[[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] ในเวลาต่อมา
เส้น 40 ⟶ 32:
* [[เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค)]] เป็นนายพลโท สมุหราชองครักษ์
* [[พระยาราชานุวงศ์ (เล็ก บุนนาค)]] รับราชการในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติในรัชกาลที่ 6
*[[เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)|เจ้าคุณพระประยุรวงศ์]] เจ้าคุณจอมมารดาในรัชกาลที่ 5
*[[เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)|เจ้าคุณพระประยุรวงศ์]] เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยุรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและ[[สมเด็จเจ้าพระยา]][1] [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]เคยกล่าวยกย่องท่านว่า "ท่านสมบูรณ์ด้วยเกียรติยศ และเป็นที่เคารพนับถือของคนทั้งหลายมิรู้เสื่อมทรามจนตลอดอายุ"[2]
* [[เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5]] พระมารดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]]
* คุณหญิง[[เล็ก บุนนาค]] พระชนนีใน[[พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* [[หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา]] หม่อมห้ามสะใภ้หลวงใน[[สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (เดิม : คุณแม้น บุนนาค) เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ท่านเป็นธิดาคนเล็กของ เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) สมุหพระกลาโหม ในสมัยรัชกาลที่ 5 กับท่านผู้หญิงอิ่ม และ เป็นหลานสาวของ [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ คุณแม้นมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 9 คน โดยพี่หญิงของท่านสองคนได้เป็นเจ้าจอมมารดาในองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 คือ [[เจ้าคุณพระประยุรวงศ์]] (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)
* คุณหญิง[[เลี่ยม บุนนาค]]
ต่อมาพ.ศ. 2428 [[สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์]] (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ทรงสู่ขอมาเป็นหม่อมห้ามสะใภ้หลวง และให้ประสูติพระโอรสพระธิดารวม 3 พระองค์ คือ
*[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช]]
*[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช]]
*[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล]]
*คุณหญิง[[เลี่ยม บุนนาค]]
 
'''วัดประจำสกุลบุนนาค''' สาย[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]] [[วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร]] เป็นที่บรรจุอัฐิของราชินิกูลบุนาคหลายท่าน รวมถึง [[เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5]] พระมารดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]]
 
== เกียรติยศ ==
เส้น 64 ⟶ 50:
เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่าง ๆ ดังนี้<ref name="ประวัติ"/>
; สยาม
{{น.ร.ฝ่ายหน้า}}
{{น.ร.ฝ่ายหน้า}}<ref name="พ.ศ. 2429">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2429/046/385_1.PDF บัญชีพระราชทานตราเครื่องราชอิสริยยศ], เล่ม ๓, ตอน ๔๖, ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๙, หน้า ๓๘๕ </ref>
{{ป.จ.ว.}}
{{ป.ม.}} (สมัยนั้นเรียกว่าชั้น''มหาสุราภรณ์'')