ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Khenesarong.jpg|right|thumb|250px|แคน]]
'''แคน''' เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองชนิดหนึ่งของ[[เครื่องเป่าประเทศลาว]]หรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของและ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] (อีสาน)ในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาวใน[[ลาว]]หรือ [[สปป.ลาวประเทศไทย]] และถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของชนชาติ[[ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)|กลุ่มชาติพันธุ์ลาว]]อีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้[[ไม้ซาง]]ขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสานได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวพื้นเมืองบริเวณลุ่มแม่น้ำโขงได้เป็นอย่างดี
[[ไฟล์:แคนและระนาดเอก.jpg|thumb|แคนและระนาดเอก]]
'แคน' เป็น[[เครื่องเป่า]]หรือเครื่องดนตรีพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน)ในประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีของชาว[[ลาว]]หรือ [[สปป.ลาว]] และถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของชนชาติลาวอีกด้วย โดยเครื่องดนตรีชนิดนี้จะใช้[[ไม้ซาง]]ขนาดต่าง ๆ ประกอบกันเข้าเป็นตัวแคน แคนเป็นเครื่องเป่ามีลิ้นโลหะ เสียงเกิดจากลมผ่านลิ้นโลหะไปตามลำไม้ที่เป็นลูกแคน การเป่าแคนต้องใช้ทั้งเป่าลมเข้าและดูดลมออกด้วย จึงเป่ายากพอสมควรและแคนมีหลายขนาด ถือเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ให้เสียงไพเราะ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สร้างเสียงประสานได้ในตัวเอง บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของชาวพื้นเมืองบริเวณลุ่มแม่น้ำโขงได้เป็นอย่างดี
ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีที่เรียกว่า "แคน" เป็น คนแรก และทำไมจึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐานที่แน่นอนยืนยันได้
 
เส้น 14 ⟶ 13:
 
แคนนอกจากบรรเลงเป็นวงแล้ว ก็ยังใช้บรรเลงประกอบการลำ (การขับร้อง) หรือใช้บรรเลงร่วมกับ[[พิณ]] [[โปงลาง]] ฯลฯ
 
ชนิด== ประเภทของลิ้นแคน ==
ใช้ทองแดงผสมเงิน ช่างที่มีฝีมือนิยมใช้เหรียญสมัยรัชกาลที่ห้า น้ำหนักเงิน 1 บาท ผสมกับเหรียญสตางค์ แบ่งออกเป็น
#'''ลิ้นเงิน''' แบ่งออกเป็น
1.1##''เงินสองทองหนึ่ง'' มีเนื้อเงินมากที่สุดให้เสียงนุ่มลมุนละมุน มีน้ำหนักลงลึกมีมิติ ส่วนมากมีในช่างอุบลรุ่นก่อนๆก่อน ๆ ปัจจุบันแทบไม่มีทำแล้ว
1.2## ''เงินสองทองสาม'' มีเนื้อเงินน้อยกว่าแบบแรก ให้เสียงที่สดใสขึ้น แต่น้ำหนักเสียงลดลง
2.#'''ลิ้นเงินสับทอง''' (สลับหรือผสม) มีทองแดง 50% ขึ้นไป มีอัตราไม่แน่นอนแล้วแต่ช่างจะคิดขึ้นมาเฉพาะตัว ให้เสียงที่ดังกังวาลกังวาน ดังไกล แต่น้ำหนักเสียงเบา เป่ายาก ใช้ลมเยอะมาก การอยู่ตัวของลิ้นยากขึ้นเช่น เงินหนึ่งทองสี่ เงินหนึ่งทองหก เงินหนึ่งทองสิบ
3.#'''ลิ้นทอง''' อาจเป็นทองแดง ทองสำริด ปลอกกระสุน ฯลฯ
 
{{เครื่องดนตรีไทย}}
เส้น 21 ⟶ 28:
[[หมวดหมู่:หมอลำ]]
{{โครงดนตรี}}
ชนิดของลิ้นแคน
ใช้ทองแดงผสมเงิน ช่างที่มีฝีมือนิยมใช้เหรียญสมัยรัชกาลที่ห้าน้ำหนักเงิน1บาท ผสมกับเหรียญสตางค์ แบ่งออกเป็น
1.ลิ้นเงิน
1.1เงินสองทองหนึ่ง มีเนื้อเงินมากที่สุดให้เสียงนุ่มลมุนมีน้ำหนักลงลึกมีมิติ ส่วนมากมีในช่างอุบลรุ่นก่อนๆแทบไม่มีทำแล้ว
1.2เงินสองทองสาม มีเนื้อเงินน้อยกว่าแบบแรกให้เสียงที่สดใสขึ้น แต่น้ำหนักเสียงลดลง
สองแบบนี้จัดอยู่ในลิ้นเงิน
2.ลิ้นเงินสับทอง(สลับหรือผสม)มีทองแดง50%ขึ้นไป มีอัตราไม่แน่นอนแล้วแต่ช่างจะคิดขึ้นมาเฉพาะตัว ให้เสียงที่ดังกังวาล ดังไกล แต่น้ำหนักเสียงเบา เป่ายาก ใช้ลมเยอะ การอยู่ตัวของลิ้นยากขึ้น
เช่น เงินหนึ่งทองสี่ เงินหนึ่งทองหก เงินหนึ่งทองสิบ
3.ลิ้นทอง อาจเป็นทองแดง ทองสำริด
ปลอกกระสุน ฯลฯ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แคน"