ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระเทพบิดร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chandrasugree (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 11:
| map_caption =
| location = [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แขวงพระบรมหาราชวัง [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| coordinates =
| religious_affiliation = [[ศาสนาพุทธ]]
| deity =
| country = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
| functional_status = ปราสาทที่ประดิษฐานรูปเคารพของสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราช
บรรทัด 23:
'''ปราสาทพระเทพบิดร''' เป็นปราสาทเพียงองค์เดียวใน[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] เป็นปราสาทจตุรมุข ยอดปรางค์มี[[นภศูล]] และ[[มงกุฎ]]อยู่บนยอด ประดับ[[กระเบื้องเคลือบ]] องค์เดียวใน[[ประเทศไทย]]
 
== ประวัติ ==
ปราสาทพระเทพบิดร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2398|พ.ศ. 2398]] เดิมชื่อว่า '''พุทธปรางค์ปราสาท''' เมื่อแรกนั้นมีพระราชประสงค์จะอัญเชิญ[[พระแก้วมรกต]]มาไว้ แต่เมื่อสร้างเสร็จเห็นว่าคับแคบไม่เหมาะแก่การพระราชพิธี จึงมิได้อัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานดังพระราชดำริ
 
[[ไฟล์:บูรพ.jpg|150px|left|thumb|พระบรมรูปพระบูรพกษัตริยาธิราชภายในองค์ปราสาทพระเทพบิดร]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2446|พ.ศ. 2446]] ได้มีการซ่อมแซมแล้วให้เปลี่ยนนามเป็น '''ปราสาทพระเทพบิดร''' [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระบรมรูป[[ราชวงศ์จักรี|พระบูรพกษัตริย์]] แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]ทั้ง 5 องค์มาไว้<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/D/116.PDF พระราชพิธี เชิญพระบรมรูปจากพระที่นั่งศิวาไลยมหาปราสาท ประดิษฐาน ยังปราสาทพระเทพบิดร พระพุทธศักราช 2461], เล่ม 35, ตอน ง, 21 เมษายน พ.ศ. 2461, หน้า 116 </ref> ทั้งมีพระบรมราชโองการให้มีการถวายบังคมพระบรมรูป เป็นประจำทุกปีในวันที่ 6 เมษายน ซึ่งทรงกำหนดให้เป็น[[วันจักรี]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2461|พ.ศ. 2461]] เป็นต้นมา จากนั้นในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ยังพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการถวายบังคมพระบรมรูป เป็นประจำทุกปีในวันที่ 5 พฤษภาคม ซึ่งตรงกับ[[วันฉัตรมงคล]]<ref> สำนักพระราชวัง, [http://www.brh.thaigov.net/information/Buket%20Data/2011/2011_06/2011_06_04/s47_04062011.pdf หมายกำหนดการพระราชกุศลทักษิณานุปทาน และพระราชพิธีฉัตรมงคล พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔]</ref> วันที่ 13-15 เมษายน เนื่องในวันสงกรานต์<ref> สำนักพระราชวัง, [http://www.brh.thaigov.net/information/Buket%20Data/2011/2011_04/2011_04_04/S29_04042011/S29_04042011.pdf หมายกำหนดการพระราชพิธีสงกรานต์ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๔]</ref> หรือพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการถวายบังคมในโอกาสวันสำคัญต่าง ๆ ในบางปี หรือทุกปี เช่น วันปิยมหาราช วันที่ 23 ตุลาคม ตั้งแต่ พ.ศ. 2554 <ref> สำนักพระราชวัง, [http://www.brh.thaigov.net/information/Buket%20Data/2011/2011_10/2011_10_21/S121_21102011.pdf หมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลวันปิยมหาราช พุทธศักราช ๒๕๕๔]</ref> ปัจจุบันได้มีการประดิษฐานพระบรมรูปเพิ่มตามการเปลี่ยนรัชสมัย จนถึงรัชกาลที่ 9 แล้ว
 
วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2562 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯให้เททองหล่อพระบรมรูป [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] เพื่อประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดรสืบไปพร้อมกับการเททองหล่อ [[พระคันธารราษฎร์]]
 
===== วันจันทร์ ที่ 6 เมษายน  2563 เวลา  20.39  น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ไปถวายบังคมสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช  ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และปราสาทพระเทพบิดร พระบรมมหาราชวัง =====ในโอกาสนี้ ทรงประกอบพิธีประดิษฐาน และสมโภชพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร  ณ ปราสาทพระเทพบิดร พระบรมมหาราชวัง
ในโอกาสนี้ ทรงประกอบพิธีประดิษฐาน และสมโภชพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร  ณ ปราสาทพระเทพบิดร พระบรมมหาราชวัง
 
เมื่อเสด็จพระราชดำเนินถึงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการท้ายที่นั่งบูชา พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกย์ พระพุทธเลิศหล้านภาไลย แล้วทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการทองใหญ่ที่หน้าธรรมาสน์ศิลา สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการทองทิศที่หน้าธรรมาสน์ศิลา ทรงรับการถวายความเคารพของผู้มาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ประทับพระราชอาสน์ ทรงศีล ประธานสงฆ์ถวายศีล พระสงฆ์ 10 รูปเจริญพระพุทธมนต์
เส้น 44 ⟶ 43:
 
== สัตว์หิมพานต์ ==
 
[[ไฟล์:Bangkok Wat-Phra-Kaeo Kinnari.jpg|thumb|250px|กินนร (ซ้าย) และ อัปสรสีห์ (ขวา)]]
บนฐานไพทีด้านหน้า และรอบๆ ปราสาทพระเทพบิดรจะมีรูปหล่อโลหะเป็นรูป[[สัตว์หิมพานต์]] ซึ่งหล่อในสมัยรัชกาลที่ 5 สร้างเป็นคู่ ตัวผู้ตัวเมีย รวม 7 คู่ ดังนี้
# '''[[อสูรวายุภักษ์]]''' ท่อนบนเป็นยักษ์สวม[[มงกุฎ]] ท่อนล่างเป็นนก สองมือกุม[[กะบอง]]เกลียว ตั้งอยู่บนลานทักษิณชั้นบน
# '''[[อัปสรสีห์]]''' ท่อนบนเป็นนาง[[อัปสร]] ท่อนล่างเป็น[[ราชสีห์]] ยืน[[พนมมือ]] ตั้งอยู่เชิงบันไดกลางลานด้านหน้าปราสาทพระเทพบิดร
# '''[[สิงหพานร]]''' ท่อนบนเป็นพระยา[[วานร]] ท่อนล่างเป็น[[ราชสีห์]] สองมือถือกระบอง ตั้งอยู่ที่บันไดลานทักษิณด้านตะวันตก
# '''[[กินนร]] และ [[กินรี]]''' ท่อนบนเป็นมนุษย์ ท่อนล่างเป็นนก มือหนึ่งแตะบั้นเอว มือหนึ่งยกระดับอก ตั้งอยู่บนลานทักษิณชั้นบน
# '''[[เทพปักษี]]''' เป็น[[เทวดา]] มีปีกและหางเป็นนก มือข้างหนึ่งถือ[[พระขรรค์]] อีกข้างหนึ่งจีบระดับอก ตั้งอยู่บนลานทักษิณชั้นบน
# '''[[เทพนรสิงห์]]''' ท่อนบนเป็นเทวดา ท่อนล่างเป็นราชสีห์ มือหนึ่งแตะบั้นเอว อีกมือหนึ่งถือกิ่งไม้ชูระดับอก ตั้งอยู่บนลานทักษิณชั้นบน
# '''[[อสูรปักษี]]''' ท่อนบนเป็น[[ยักษ์]] สวมมงกุฎ ท่อนล่างเป็นนก มือหนึ่งแตะบั้นเอว อีกมือหนึ่งผายออกด้านข้าง
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{geolinks-bldg|13.751646|100.492791}}