ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธารณรัฐเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 65:
}}
 
'''สาธารณรัฐเขมร''' ({{lang-km|សាធារណរដ្ឋខ្មែរ}}; {{lang-fr|République Khmère}}) เป็นรัฐบาลของประเทศกัมพูชาที่ปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2513 โดยมีนายพล ลอนนอล จนถึง นายพลลองโบเรท ที่เป็นประธาธิบดีประธานาธิบดียุคสาธารณรัฐเขมร และสลายตัวไปเมื่อ พ.ศ. 2518 หลังจากที่[[เขมรแดง]]ยึดกรุงพนมเปญได้ และประกาศจัดตั้ง[[กัมพูชาประชาธิปไตย]]
 
== ภูมิหลัง ==
บรรทัด 93:
{{บทความหลัก|รัฐประหารในประเทศกัมพูชา พ.ศ. 2513}}
[[ไฟล์:Areas of Cambodia under government control August 1970.jpg|thumb|250px|left|พื้นที่ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลสาธารณรัฐเขมร (สีขาว) เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2513]]
สมเด็จพระนโรดม สีหนุกล่าวอ้างว่าการรัฐประหารเมื่อ [[พ.ศ. 2513]] เป็นผลจากความร่วมมือของ[[เซิน หง็อก ถั่ญ]] นักชาตินิยมฝ่ายขวาที่ลี้ภัยออกนอกประเทศ นักองค์ราชวงศ์ สีสุวัตถิ์ สิริมตะ นายกรัฐมนตรีซึ่งเคยเป็นคู่แข่งของสมเด็จพระนโรดม สีหนุในการขึ้นสู่ราชบัลลังก์กัมพูชา และ[[ซีไอเอ]] เพื่อจัดตั้งรัฐบาลที่เป็นมิตรกับสหรัฐ.<ref name="sihanouk37">[[Norodom Sihanouk]], ''My War with the CIA'', Pantheon (1972). ISBN 978-0394485430, p.37</ref> จริงๆจริง ๆ แล้วมีหลักฐานน้อยที่แสดงว่าสหรัฐเกี่ยวข้องกับรัฐประหาร เว้นแต่จะมีส่วนหนึ่งของกองกำลังพิเศษของสหรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนและฝึกฝนให้กับทหารของลน นล<ref name="kiernan300">Kiernan, B. ''How Pol Pot came to power'', Yale University Press (2004). ISBN 978-0300102628, p.300</ref>
 
เมื่อสมเด็จพระนโรดม สีหนุเดินทางออกจากประเทศไปเยือน[[ฝรั่งเศส]] ได้เกิดการลุกฮือขึ้นต่อต้านเวียดนามในพนมเปญ มีการโจมตีสถานทูตของเวียดนามเหนือและเวียดกง<ref name=shawcross118>{{cite book | author=Shawcross, W. |title=Sideshow: Kissinger, Nixon, and the Destruction of Cambodia | location=New York | publisher=Washington Square Books| year= 1981 |page= 118 | isbn=0671230700 }}</ref> คาดว่าการลุกฮือครั้งนี้ มีฝ่ายของลน นล อยู่เบื้องหลัง ในวันที่ 12 มีนาคม นายกรัฐมนตรีประกาศปิดท่าเรือ[[พระสีหนุ (เมือง)|เมืองพระสีหนุ]]เพื่อระงับการขนส่งอาวุธไปให้เวียดกงและเวียดนามเหนือ และออกคำสั่งให้เวียดกงถอนทหารออกไปจากกัมพูชาภายใน 72 ชั่วโมงหรือภายใน 15 มีนาคม มิฉะนั้นจะใช้กำลังทหาร.<ref name=sutsakhan42>[http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001A.pdf Sutsakhan, Lt. Gen. S. ''The Khmer Republic at War and the Final Collapse'' Washington DC: U.S. Army Center of Military History, 1987, Part 1, p. 42.] See also [http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001A.pdf Part 1][http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001B.pdf Part 2][http://www.vietnam.ttu.edu/star/images/239/2390505001C.pdf Part 3].</ref> แม้ว่าจะเป็นการขัดต่อนโยบายของสีหนุที่ให้ความร่วมมือกับเวียดนามเหนือ แต่ลน นล ได้แสดงตนเป็นผู้กุมชะตากรรมของประเทศ เขาต้องการให้กดดันเวียดนามเหนือมากกว่านี้
บรรทัด 109:
ในวันที่ 9 ตุลาคม ศาลทหารได้ตัดสินประหารชีวิตสมเด็จพระนโรดม สีหนุ [[สมเด็จพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์ กุสุมะ นารีรัตน์ สิริวัฒนา|สมเด็จพระมหากษัตริยานีกุสุมะ]] พระมารดาของสีหนุ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของราชวงศ์ในสมัยของสีหนุถูกกักบริเวณ และ[[พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา|พระราชินีโมนิก]] พระมเหสีของสีหนุถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิต ฝ่ายปฏิวัติได้ประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐเขมร ในขณะที่สีหนุได้ประกาศจัดตั้ง[[รัฐบาลราชอาณาจักรสหภาพแห่งชาติกัมพูชา]]ที่ปักกิ่งที่มีฝ่ายคอมมิวนิสต์หนุนหลัง
 
กองทัพจริงๆจริง ๆ ของฝ่ายราชวงศ์ในช่วงเวลาที่เกิดรัฐประหารมีเพียง 35,000 คน และขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ ส่วนกองทัพฝ่ายสาธารณรัฐมีทหารประมาณ 150,000 คน ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2513 ส่วนใหญ่มาจากกลุ่มต่อต้านเวียดนาม<ref name=kiernan303>Kiernan, p.303</ref> สหรัฐให้การสนับสนุนในการฝึกหัดทหาร และส่งทหารของ[[เขมรเสรี]]และกองทัพ[[แขมร์กรอม]]ที่ฝึกในเวียดนามใต้เข้ามาอีก หลายพันคน ทำให้ทหารฝ่ายสาธารณรัฐเพิ่มเป็น 200,000 คน
 
แม้ว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐ แต่กองทัพของสาธารณรัฐเขมรมีปัญหาด้านคอรัปชั่น โดยเฉพาะเงินเดือนของกองทหารที่ไม่มีอยู่จริง และความไร้ประสิทธิภาพของกองทัพ แม้ว่านายทหารของฝ่ายสาธารณรัฐอย่างนักองค์มจะ [[นโรดม จันทรังสี]] ซึ่งควบคุมกองพลที่ 13 จะประสบความสำเร็จในบริเวณทางหลวงหมายเลข 4 และที่ราบคีรีรมย์ แต่แม้ทัพนายกองคนสำคัญคนอื่นๆอื่น ๆ มักไร้ประสบการณ์หรือความสามารถ ปฏิบัติการที่สำคัญในการต่อต้านเวียดนามคือปฏิบัติการเจนละ 1 และ 2 สิ้นสุดลงด้วยความพ่ายแพ้
 
== เหตุการณ์ทางการเมืองของสาธารณรัฐเขมร ==
บรรทัด 126:
 
=== พ.ศ. 2516: การเจรจาสงบศึก ===
ข้อตกลงสันติภาพปารีสเมื่อต้นปี พ.ศ. 2516 ทำให้สงครามกลางเมืองชะงักไประยะหนึ่ง ลน นล ประกาศสงบศึกฝ่ายเดียว แม้ว่ากองทัพของฝ่ายสาธารณรัฐอ่อนแอเต็มที จริงๆจริง ๆ แล้วมีการติดต่อกันเพียงเล็กน้อยระหว่างฝ่ายสาธารณรัฐกับฝ่าย[[เขมรแดง]]หัวก้าวหน้าคือ [[ฮู ยวน]] เวียดนามเหนือกดดันให้พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชายอมรับข้อตกลงสันติภาพ ในขณะที่ยังมีการสู้รบกันบ้างประปราย ผู้นำของเขมรแดงไม่ยอมรับการประนีประนอม
 
การสู้รบเกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 เมื่อกองกำลังฝ่ายคอมมิวนิสต์โจมตีฝ่ายสาธารณรัฐที่[[จังหวัดกำปงธม]]<ref name="clymerp65" /> ในเดือนเมษายน กองทัพฝ่ายสาธารณรัฐพ่ายแพ้และเสียฐานที่มั่นในต่างจังหวัด สหรัฐฯ ตัดความช่วยเหลือรัฐบาลของลน นล และพยายามดึงนักงองค์ราชวงศ์ สีสุวัตถิ์ สิริมตะให้เข้ามามีบทบาท และลดบทบาทของลน นน ลง<ref name=clymer71>Clymer, p.71</ref> ในวันที่ 24 เมษายน ลน นล ประกาศจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติซึ่งประกอบด้วยลน นล, เจ้าสิริมตะ, เจง เฮง และอิน ตัม ความโกรธแค้นสหรัฐอเมริกาที่มาทิ้งระเบิดในกัมพูชาทำให้เขมรแดงได้รับความนิยมมากขึ้น
บรรทัด 136:
ในช่วงฤดูแล้ง พ.ศ. 2518 กองกำลังเขมรแดงได้ยกเข้ามาล้อมพนมเปญไว้ มีผู้อพยพเข้าในเมืองหลวงมากขึ้น ลน นลได้สั่งให้ส่งเฮลิคอปเตอร์ไปคุ้มกันประชาชนเหล่านั้น การได้รับการสนับสนุนจากจีนทำให้ฝ่ายเขมรแดงมีความเข้มแข็งมากกว่า การพยายามเจรจาสันติภาพล้มเหลวเพราะสีหนุปฏิเสธที่จะเจรจากับลน นลโดยตรง แผนสันติภาพที่ฝรั่งเศสเสนอต่อจีนให้สีหนุกลับไปเป็นประมุขของสาธารณรัฐเขมรล้มเหลวเช่นกัน
 
ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2518 ลน นล ได้ประกาศลาออกและลี้ภัยออกนอกประเทศ กองทัพฝ่ายสาธารณรัฐสลายตัวไป เจ้าสิริมตะ, [[ลอง โบเรต]], [[ลน นน]] และนักการเมืองอื่นๆอื่น ๆ ยังคงอยู่ในเมืองหลวงเพื่อจะพยายามเจรจาสงบศึกกับฝ่ายเขมรแดง จนกระทั่งเมื่อพนมเปญแตกในวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 ฝ่ายเขมรแดงได้ประหารชีวิตนักการเมืองในระบอบเก่าทั้งหมด สาธารณรัฐเขมรจึงล่มสลายลง บริเวณสุดท้ายที่อยู่ภายใต้อำนาจของฝ่ายสาธารณรัฐเขมรคือบริเวณ[[ปราสาทเขาพระวิหาร]]บน[[เทือกเขาพนมดงรัก]] ซึ่งกองทัพฝ่ายสาธารณรัฐสามารถยึดครองไว้ได้ในปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2518.<ref name=fenton>[[James Fenton|Fenton, J.]] ''[http://www.newstatesman.com/society/2007/11/khmer-rouge-taken-end-thailand To the bitter end in Cambodia]'', ''[[New Statesman]]'', 25-04-75</ref> และฝ่ายเขมรแดงแย่งชิงมาได้เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2518
 
== อ้างอิง ==