ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 58.11.2.123 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Sry85
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล หนังสือพิมพ์
{{กล่องข้อมูล หนังสือพิมพ์|ชื่อ=ผู้จัดการออนไลน์|ประเภท=สื่อออนไลน์|รูปแบบ=สื่อสารมวลชน|ผู้ก่อตั้ง=[[สนธิ ลิ้มทองกุล]]|เจ้าของ=บ.ไทยเดย์ ดอตคอม จำกัด|ภาษา=ภาษาไทย|พื้นที่=ประเทศไทย|เว็บไซต์=http://mgronline.com|สำนักงานใหญ่=เลขที่ 102/1 [[ถนนพระอาทิตย์]] แขวงชนะสงคราม [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]|ภาพ=[[ไฟล์:Mgr-online-logo.png|mgronline.com]]}}<ref name=":0" />
==| ชื่อ = ผู้จัดการรายวัน (กลับคืนมา)360 ===องศา
| ภาพ =
| ประเภท = หนังสือพิมพ์รายวัน
| รูปแบบ = ธุรกิจ (Business)
| เจ้าของ = [[เอเอสทีวีผู้จัดการ|บริษัท ผู้จัดการ 360 จำกัด]]
| สำนักพิมพ์ = [[ผู้จัดการออนไลน์|โรงพิมพ์ตะวันออก]]
| บรรณาธิการ =
| บรรณาธิการบริหาร = [[สุรวิชญ์ วีรวรรณ]]
| บรรณาธิการอำนวยการ = [[จินตนาถ ลิ้มทองกุล]]
| คอลัมนิสต์ =
| ก่อตั้ง = {{วันเกิด-อายุ|2551|11|21}} ชื่อปัจจุบัน"ผู้จัดการรายวัน 360 องศา"<br/>7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 ในชื่อ"ผู้จัดการรายวัน"<br/>
| การเมือง =
| ภาษา = [[ภาษาไทย]]
| ฉบับสุดท้าย = {{วันเกิด-อายุ|2551|11|18}} ในชื่อ"ผู้จัดการรายวัน"<br/>
| ราคา = 20.00 บาท
| สำนักงานใหญ่ = เลขที่ 102/1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| circulation =
| ISSN =
| เว็บไซต์ = [http://www.mgronline.com www.mgronline.com]
}}
 
'''ผู้จัดการออนไลน์''' ({{lang-en|MGR Online}}) เป็น[[เว็บไซต์]][[ข่าว]] [[ผู้จัดการออนไลน์]] [[หนังสือพิมพ์]][[ธุรกิจ]]รายวันฉบับ[[ภาษาไทย]] บริหารงานโดยเครือ[[ผู้จัดการ]] โดย[[จินตนาถ ลิ้มทองกุล]] ที่นำเสนอข่าวทั่วไปข้อมูล ข่าวด่วนข่าวสาร ข่าวออนไลน์การวิเคราะห์ ข่าวอาชญากรรมทั้งด้านธุรกิจ ข่าวบันเทิงการเงิน ข่าวดาราการค้า ข่าววันนี้การลงทุน ทันเหตุการณ์ประกอบด้วยเนื้อหาด้านการบริหารจัดการ ข่าว[[ความรู้ วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ตลอดจนแนวทางการจัดการธุรกิจ]]ในโลกยุคใหม่ นอกจากนี้ยังมี [[นิตยสาร]][[ข่าว]] [[ผู้จัดการสุดสัปดาห์ 360 องศา]] และ [https://mgronline.com/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ]
 
== ประวัติ ==
=== ผู้จัดการรายวัน ===
''หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน'' ฉบับปฐมฤกษ์ลงก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดย[[สนธิ ลิ้มทองกุล]] เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ใน[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]พ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล [[สุจินดา คราประยูร|พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น [[เดอะเนชั่น]], [[กรุงเทพธุรกิจ]] และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่ว[[กรุงเทพมหานคร]] เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบน[[ถนนราชดำเนิน]] จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน
 
อย่างไรก็ตาม วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ก็ทำให้เครือผู้จัดการประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรง และในที่สุด [[ธนาคาร]]หลายแห่งก็ฟ้องล้มละลาย และศาลได้ตัดสินให้สนธิเป็นบุคคลล้มละลาย ในช่วงปี พ.ศ. 2544 โดยผู้จัดการรายวัน มีชื่อเสียงโดดเด่น จากคอลัมน์''ข่าวปนคน คนปนข่าว'' ของ''เซี่ยงเส้าหลง'' ซึ่งเป็น[[นามปากกา]]ของสนธิ, คอลัมน์''คันปาก'' โดยนามปากกา''[[ซ้อเจ็ด]]'' และหนังสือพิมพ์ล้อเลียน''ผู้จัดกวน'' ทั้งนี้ หลังจากสนธิเริ่มจัดรายการ[[เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร]] เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึ่งพัฒนาไปเป็น[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] ในปี พ.ศ. 2549 นั้น ผู้จัดการรายวัน ก็ได้แปรสภาพไปเป็นกระบอกเสียงของรายการฯ และกลุ่มพันธมิตรฯ ร่วมกับ[[สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเอเอสทีวี]] ช่อง[[NEWS1|นิวส์วัน]]เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 [[ศาลล้มละลายกลาง]]พิจารณาเห็นสมควรให้ บริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เจ้าของหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือผู้จัดการ มีสภาพล้มละลาย เนื่องจากมีหนี้สินกว่า 4,726 ล้านบาท จึงมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของบริษัทดังกล่าวโดยเด็ดขาด ซึ่งชื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสารในเครือทั้งหมด ก็ถือเป็นทรัพย์สินของบริษัทฯ ตามกฎหมายเช่นกัน จึงไม่สามารถออกหนังสือพิมพ์และนิตยสาร โดยใช้ชื่อเดิมอีกต่อไปหลังจากใช้ชื่อเดิมไม่ได้อีกต่อไป ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ยังคงปฏิบัติงานตามปกติ และยังพยายามออกหนังสือพิมพ์อย่างต่อเนื่อง โดยเลี่ยงไปใช้ชื่อใหม่ที่คล้ายคลึงกับชื่อเดิม ซึ่งอาจเข้าข่ายเป็นการลอกเลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ทั้งนี้ ชื่อต่างๆ ที่ใช้ออกหนังสือพิมพ์ในแต่ละวัน มีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
 
=== ระยะเปลี่ยนผ่าน ===
เส้น 12 ⟶ 34:
* วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - ''สารจากเอเอสทีวี โดยทีมงานผู้จัดการ'' ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ปรากฏการนับปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ รวมถึงไม่มีบรรณลักษณ์ภายในฉบับอีกเช่นกัน
 
=== เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน 360 องศา ===
* เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ทีมงานกองบรรณาธิการชุดเดิมของผู้จัดการรายวัน ออกหนังสือพิมพ์โดยใช้ชื่อว่า ''เอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน 360 องศา'' โดยเริ่มระบุการนับเลขปี และเลขฉบับบนหัวหนังสือ เป็นฉบับปฐมฤกษ์ มีราคาจำหน่าย 20 บาท โดยในเบื้องต้นระบุในบรรณลักษณ์ว่า บริษัท เอเอสทีวี (ประเทศไทย) จำกัด เป็นเจ้าของ ปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็น บริษัท เอเอสทีวีผู้จัดการ 360 จำกัด เป็นเจ้าของ พร้อมทั้งเปลี่ยนกอง[[บรรณาธิการ]]ยกชุด ซึ่งคณะผู้บริหารเครือ[[ผู้จัดการ]] ถือว่าในวันดังกล่าวของทุกปี เป็นวันครบรอบสถาปนาผู้จัดการ 360 ยุคปัจจุบัน
== ผู้จัดการสุดสัปดาห์ 360 องศา ==
 
=== ผู้จัดการรายวัน (กลับคืนมา) ===
ภายหลังการ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ|รัฐประหาร พ.ศ. 2557]] จำนวนพิมพ์ก็เพิ่มขึ้นไปหลายสิบเท่าตัว เป็นผลให้เจ้าของใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ ขอชื่อกลับคืนไปดำเนินการเอง ขณะเดียวกัน [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61|รัฐบาลสมัยที่]] พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] คืนใบอนุญาตออกหนังสือพิมพ์ผู้จัดการกลับมา กองบรรณาธิการชุดใหม่ของผู้จัดการจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่ออีกครั้ง ''ผู้จัดการรายวัน'' จนถึงปัจจุบัน<ref name="profiles"/>
 
== ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ==
 
{{กล่องข้อมูล นิตยสาร
| title = ผู้จัดการสุดสัปดาห์ 360 องศา
| image_file =
| image_caption =
เส้น 35 ⟶ 53:
|finaldate=
|}}
'''ผู้จัดการสุดสัปดาห์ 360 องศา''' เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือ[[ผู้จัดการ]] มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์[[ผู้จัดการรายวัน 360 องศา]] ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552
 
== ผู้จัดการออนไลน์ ==
เส้น 41 ⟶ 59:
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 จากการจัดอันดับโดย[[อเล็กซา]] ผู้จัดการออนไลน์เป็นเว็บไซต์ข่าวที่ผู้ใช้จากประเทศไทยเข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 และเป็นอันดับ 10 จากเว็บไซต์รวมทุกประเภท<ref name=":0">[http://www.alexa.com/site/ds/top_sites?cc=TH&ts_mode=country&lang=none 100 เว็บยอดนิยมอันดับแรกของประเทศไทย] จัดอันดับโดยเว็บไซต์ อเล็กซา</ref> และจากการจัดอันดับโดย[[ทรูฮิตส์]] เป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และมากเป็นอันดับ 3 หากรวมทุกประเภท<ref>[http://truehits.net/index_ranking.php จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net]</ref>
 
ในเดือนธันวาคมตุลาคม พ.ศ. 25622551 จากการจัดอันดับโดย[[ทรูฮิตส์]] ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และเป็นอันดับ 54 หากรวมทุกประเภท<ref>[http://truehits.net/index_ranking.php จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net]</ref> ในปี พ.ศ. 2560 เว็บไซต์ของ[[ผู้จัดการออนไลน์]]เป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าไปอ่านมากที่สุดในประเทศไทย โดยมียอดมากที่สุดคือ 1,065,780 ต่อหนึ่งวัน
 
 
{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
{{เครือผู้จัดการ}}
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
 
[[หมวดหมู่:เครือผู้จัดการ]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2533]]
[[หมวดหมู่:เว็บไซต์ข่าวในประเทศไทย]]
{{โครงหนังสือพิมพ์}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==