ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wipesx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ก่อกวน
บรรทัด 57:
* {{flagicon|Kingdom of Romania}} [[สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย|เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย]]
* {{flagicon|Kingdom of Greece}} [[อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส]]
* {{small|และคนอื่นๆอื่น ๆ...}}}}
| commander2 = '''ฝ่ายมหาอำนาจกลาง:'''{{plainlist|
* {{flagicon|German Empire}} [[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|ไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2]]
บรรทัด 67:
* {{flagdeco|Ottoman Empire}} [[สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6]]
* {{flagicon|Kingdom of Bulgaria}} [[พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย|เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย]]
* {{small|และคนอื่นๆอื่น ๆ...}}}}
| กำลังพล1 = <ref name="Tucker 2005 273">{{harvnb|Tucker|Roberts|2005|p=273}}</ref>
{{flagicon|สยาม}} 87,000,000
{{flagicon|Russian Empire}} 12,000,000 คน<br />
{{flagicon|จักรวรรดิอังกฤษ}} 8,841,541 คน<ref>{{cite web|url=http://www.1914-1918.net/faq.htm|title=British Army statistics of the Great War|publisher=1914-1918.net|accessdate=13 December 2011}}</ref><ref>Figures are for the British Empire</ref><br />
เส้น 359 ⟶ 358:
ภายหลังสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้จัดเฉลิมฉลองชัยชนะที่ฝรั่งเศส ต่อมาได้มีการการประชุมสันติภาพปารีสของประเทศที่อยู่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงคราม ณ พระราชวังแวร์ซายโดยห้ามไม่ให้ฝ่ายมหาอำนาจผู้แพ้สงครามเข้าร่วมประชุม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ร่างสนธิสัญญาสันติภาพขึ้นโดยมีใจความว่า ให้จักรวรรดิเยอรมันต้องยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภายใต้ข้อตกลงข้อ 231 (ในภายหลังรู้จักกันว่า "อนุประโยคความรับผิดในอาชญากรรมสงคราม") และในข้อ 232-248 เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจำกัดอาณาเขตดินแดน รวมไปถึงต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจำนวนมหาศาล เมื่อปี ค.ศ. 1921 ได้ประเมินว่ามูลค่าของค่าปฏิกรรมสงครามที่เยอรมนีจะต้องจ่ายนั้นสูงถึง 132,000 ล้านมาร์ก (ราว 31,400 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์) [1] อันเป็นจำนวนที่มากเกินกว่าจะยอมรับได้และไม่สร้างสรรค์ และเยอรมนีอาจต้องใช้เวลาชำระหนี้จนถึง ค.ศ. 1988 เนื่องจากประเทศทั้งสองคือฝรั่งเศลและอังกฤษต้องการจะให้เยอรมันอ่อนแอไม่ให้กลับแข็งแกร่งมาต่อกรอีก ยกเว้นสหรัฐไม่ได้เข้าร่วมทำให้กลายเป็นสนธิสัญญาที่ดูไม่เป็นธรรมเลย ในตอนแรกว่าตัวแทนทูตจากเยอรมนีได้เห็นสนธิสัญญาฉบับนี้ว่ารุนแรงและเป็นที่ยอมรับไม่ได้จึงไม่พอใจมาก แต่ต่อมาเยอรมนีได้จัดตั้งสาธารณรัฐขึ้นใหม่หลังจากจักรวรรดิล่มสลายไปคือ [[สาธารณรัฐไวมาร์]] ได้ตกลงที่จะยอมรับปฏิบัติตามสนธิสัญญาแวร์ซายทันทีทำให้เยอรมนีต้องอยู่อย่างอัปยศอดสู แต่อย่างไรก็ตามสนธิสัญญาแวร์ซายนั้นไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้างสันติภาพแต่อย่างใดเลย หากเป็นบ่อนทำลายที่จะทำให้เกิดสงครามโลกปะทุอีกครั้งซึ่งได้กลายเป็นความจริงอย่างแน่นอน เพราะในอีกยี่สิบเอ็ดปีให้หลัง [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]และพรรคนาซีได้ยึดอำนาจในสาธารณรัฐไวมาร์ได้สำเร็จ จากนั้นก็ได้ทำการฟื้นฟูทั้งการเมืองและกำลังทหารจนเข้มแข็งทำให้ละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายและรุกรานประเทศอื่นจนนำไปสู่[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในที่สุด
 
นอกจากนั้น ยังมีสนธิสัญญาอื่นๆอื่น ๆ อีก 4 ฉบับที่ต้องทำกับเหล่าประเทศที่อยู่ฝ่ายมหาอำนาจผู้แพ้สงครามได้แก่
 
* [[สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919)|สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล]] ทำสัญญากับ[[ออสเตรีย]]
* สนธิสัญญาเนยยี-เซอร์-ไซน์ ทำสัญญากับ[[บัลแกเรีย]]
* สนธิสัญญาตริอานอง ทำสัญญากับ [[ฮังการี]]
* สนธิสัญญาเซเวร์ ทำสัญญากับ[[ตุรกี]] (แต่ต่อมาขบวนการชาติแห่งตุรกีร้องเรียนไม่ยอมรับสนธิสัญญาฉบับนี้ ทางสัมพันธมิตรจึงร่างสนธิสัญญาใหม่คือ [[สนธิสัญญาโลซาน]] )
 
=== กำเนิดสันนิบาตชาติ ===