ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การขยายเขตเมือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
[[imageไฟล์:2015 World Urbanization Map.png|thumb|upright=1.4|ร้อยละการนคราภิวัฒน์ในแต่ละประเทศ ข้อมูลปี 2015]]
{{multiple image
| align = right
บรรทัด 6:
| image1 = Bangkok Business Area (9144571460).jpg
| width1 =
| alt1 =
| caption1 = [[กรุงเทพมหานคร]] เมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรเยอะและหนาแน่นที่สุดของ[[ประเทศไทย]]
| image2 = Mumbai Skyscrapers.jpg
บรรทัด 13:
| caption2 = [[มุมไบ]] เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดใน[[ประเทศอินเดีย]] และหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ของโลก
}}
'''นคราภิวัฒน์''' ({{lang-en|Urbanisation}} หรือ Urbanization) หมายถึงการโยกย้ายประชากรจากพื้นที่ชนบทมายัง[[เขตเมือง|พื้นที่เมือง]], การค่อย ๆ เพิ่มขึ้นของสัดส่วนผู้คนที่อาศัยในพื้นที่เมือง และวิธีทางที่สังคมปรับตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้<ref>แปลจากภาษาอังกฤษ {{cite web|title=Urbanization|url=https://www.nlm.nih.gov/cgi/mesh/2014/MB_cgi?term=Urbanization|website=MeSH browser|publisher=National Library of Medicine| quote=The process whereby a society changes from a rural to an urban way of life. It refers also to the gradual increase in the proportion of people living in urban areas.|accessdate=5 November 2014}}</ref> นคราภิวัฒน์ถือเป็นขั้นตอนเด่นที่เมืองนั้นเกิดขึ้นและขยายตัวตามจำนวนผู้คนที่เริ่มเข้ามาอยู่อาศัยและทำงานในพื้นที่ที่เป็นศูนย์กลาง<ref>{{cite web|title=Urbanization in |url=http://demographicpartitions.org/urbanization-2013/|website=demographic partitions|accessdate=8 July 2015}}</ref> ถึงแม้แนวคิดทั้งสองแบบนี้สามารถใช้แทนที่กันได้ การนคราภิวัฒน์นั้นแตกต่างจากการเจริญเติบโตของเมือง (Urban growth) เพราะการนคราภิวัฒน์คือ “สัดส่วนของประชากรในชาติที่อยู่อาศัยในพื้นที่ที่กำหนดว่าเป็นเขตเมือง” ("the proportion of the total national population living in areas classed as urban") ในขณะที่การเจริญเติบโตของเมือง (Urban growth) หมายถึง “จำนวนผู้คนสัมบูรณ์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่กำหนดว่าเป็นเขตเมือง” ("the absolute number of people living in areas classed as urban")<ref>{{Cite book|title=Urbanisation, rural-urban migration and urban poverty|last=Tacoli|first=Cecilia|date=2015|publisher=International Institute for Environment and Development|others=McGranahan, Gordon, Satterthwaite, David|isbn=9781784311377|location=London|pages=|oclc=942419887}}</ref> [[องค์การสหประชาชาติ]]ระบุว่าครึ่งหนึ่งของประชากรโลกจะอาศัยในเขตเมืองภายในสิ้นปี 2008<ref>{{cite news|url=http://www.iht.com/articles/ap/2008/02/26/news/UN-GEN-UN-Growing-Cities.php|archiveurl=https://web.archive.org/web/20090209221745/http://www.iht.com/articles/ap/2008/02/26/news/UN-GEN-UN-Growing-Cities.php|archivedate=9 February 2009|title=UN says half the world's population will live in urban areas by end of 2008|agency=Associated Press|date= 26 February 2008|newspaper=International Herald Tribune}}</ref> มีการคาดการณ์ว่าภายในปี 2050 ประมาณ 64% ของ[[ประเทศกำลังพัฒนา]] และ 86% ของ[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]จะกลายเป็นเขตมืองจากกระบวนการนคราภิวัฒน์<ref>{{cite news|url=https://www.economist.com/news/special-report/21564998-cities-are-turning-vast-data-factories-open-air-computers |title=Urban life: Open-air computers |newspaper=The Economist |date=27 October 2012 |accessdate=20 March 2013}}</ref> มีค่าเทียบเท่ากับ 3 พันล้านชาวนคร (urbanites) ภายในปี 2050 ส่วนมากจะเกิดข้นในแอฟิกาและเอเชีย<ref name="unfpa.org">{{cite web|url=http://www.unfpa.org/urbanization|title=Urbanization|work=UNFPA – United Nations Population Fund}}</ref>
 
การนคราภิวัฒน์นั้นเกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบหลายส่วน รวมถึง[[การออกแบบผังเมือง]] [[ภูมิศาสตร์]] [[สังคมศาสตร์]] [[สถาปัตยกรรม]] [[เศรษฐกิจ]] และการ[[สาธารณสุข]] ปรากฏการณ์นี้ถือว่าเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับ[[การทำให้ทันสมัย]] (Modernisation) [[การปรับให้เป็นอุตสาหกรรม]] (Industrialisation) และการบวนการ[[การหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (สังคมศาสตร์)|หาเหตุผล]] (Rationalisation) ในเชิงสังคมศาสตร์<ref>Gries, T. and Grundmann, R., 2018. Fertility and modernization: the role of urbanization in developing countries. Journal of International Development, 30 (3), pp.493-506.</ref>
 
ในปัจจุบัน กลุ่มเมืองนคร (Urban agglomerations) ในเอเชียทั้ง [[Keihanshin|โอซะซากะ]], [[โตเกียว]], [[กวางโจว]], [[การาจี]], [[จาการ์ตา]], [[มุมไบ]], [[เซี่ยงไฮ้]], [[มะนิลา]], [[โซล]] และ[[ปักกิ่ง]] ล้วนมีประชากรมากกว่า 20 ล้านคน ในขณะที่[[เดลี]] มีการคาดการณ์ว่าจะมีประชากรเกิน 40 ล้านคนในปี 2035<ref>{{Cite web|url=http://worldpopulationreview.com/world-cities/delhi-population/|website=worldpopulationreview.com|access-date=2019-05-01}}</ref> ส่วนเมืองเช่น [[เตหะราน]], [[อิสตันบูล]], [[เม็กซิโกซิตี]], [[เซาเปาโล]], [[ลอนดอน]], [[มอสโก]], [[นิวยอร์กซิตี]], [[เลกอส]], [[ลอสแองเจลลิสลอสแอนเจลิส]] และ[[ไคโร]] ล้วนมี หรือกำลังจะมีประชากรเกิน 15 ล้านคน
 
== อ้างอิง ==