ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้การก่อกวน
บรรทัด 6:
| รูปแบบ = [[ธนาคารพาณิชย์]]
| ก่อตั้ง = 1 ธันวาคม พ.ศ. 2487 ({{อายุ|2487|12|1}} ปี)
| ผู้ก่อตั้ง = หลวงรอบรู้กิจ
| เจ้าของ = พงษ์พันธ์ สมนวน
| ที่ตั้ง = เลขที่ 333 [[ถนนสีลม]]<br/> แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| พื้นที่ = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
บรรทัด 25:
}}
 
'''[[ธนาคารธนชาต|ธ]]นาคารกรุงเทพกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)''' ({{lang-en|BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LIMITED}}) {{SET|BBL}}<ref>[http://www.set.or.th/set/factsheet.do?symbol=BBL&language=en&country=US สรุปข้อสนเทศบริษัทจดทะเบียน]ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย</ref> จดทะเบียนก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 โดยข้าราชการ นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่มีแนวคิดเดียวกัน มีสโลแกนที่ว่า "เพื่อนคู่คิด มิตรคู่บ้าน"
 
รายงานผลการสำรวจธนาคารยอดเยี่ยมในประเทศกำลังพัฒนาประจำปี 2546 ซึ่งตีพิมพ์ใน นิตยสารโกลบอล ไฟแนนซ์ ฉบับประจำเดือนพฤษภาคม 2546 ได้กล่าวถึง ธนาคารกรุงเทพ ว่าเป็น[[ธนาคาร]]ที่ใหญ่ที่สุดใน[[ประเทศไทย]]<ref>[http://www.bangkokbank.com/Bangkok+Bank+Thai/About+Bangkok+Bank/Awards/Award46.htm รางวัลแห่งเกียรติยศ 2546 โดยเว็บไซต์ของธนาคาร]</ref> ธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารพาณิชย์ที่มีนัยต่อความเสี่ยงเชิงระบบในประเทศประจำปี 2560<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/235/38.PDF</ref> ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 17/2560
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 41:
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 3 คือ [[บุญชู โรจนเสถียร]] เป็นผู้ที่ปรับเปลี่ยนการบริหารงานครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อให้ธนาคารมีมาตรฐานเท่าเทียมกับต่างประเทศ รวมทั้งนโยบายมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 4 คือ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เป็นผู้นำธนาคารกรุงเทพเข้าสู่ยุคทอง ผลประกอบการของธนาคารกรุงเทพในปี [[พ.ศ. 2523]] - [[พ.ศ. 2535]] มีกำไรสุทธิเพิ่มขึ้นถึง 12 เท่า และเป็นครั้งแรกที่ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ทำกำไรสุทธิมากกว่า 10,000 ล้านบาท ธนาคารกรุงเทพคือบริษัทที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ณ ช่วงสมัยนั้น และ เป็น 1 ใน 200 ธนาคารชั้นนำของโลก และในปี [[พ.ศ. 2525]] ได้ย้ายสำนักงานใหญ่ของธนาคารกรุงเทพ จากซอยธนาคารกรุงเทพ ถนนเสือป่า (ปัจจุบันพื้นที่ที่เคยเป็นอาคารสำนักงานใหญ่แห่งเดิมนั้น ก็ได้ถูกลดฐานะมาเป็นสาขาพลับพลาไชย และบางส่วนกลายมาเป็นอาคารพลับพลาไชย){{อ้างอิง}} มาตั้งอยู่ที่ เลขที่ 333 [[ถนนสีลม]] แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งได้ใช้สำนักงานแห่งนี้มาตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน
 
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 5 คือ [[วิชิต สุรพงษ์ชัย|ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย]] เป็นผู้ที่มีผลงานด้านกิจการธนาคารในต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ทำให้ธนาคารกรุงเทพเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก
บรรทัด 47:
กรรมการผู้จัดการท่านที่ 6 คือ [[ชาติศิริ โสภณพนิช]] เป็นบุตรชายคนโตของ [[ชาตรี โสภณพนิช]] เพียงระยะเวลาแค่ 3 ปีในการบริหารตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เศรษฐกิจไทยที่รุ่งเรืองมานานถึง 30 ปี ก็ได้อวสานลง ด้วยวิกฤตการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ซึ่งค่าเงินบาทลดลงอย่างมาก หลังจากที่ประเทศไทยใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว สถาบันการเงินหลายรายไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทย ประสบปัญหาล้มละลาย สถาบันการเงินที่เหลือประสบปัญหา[[หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้]] (NPL) เพราะลูกค้าหลายราย ล้วนประสบปัญหาทางการเงิน ท่ามกลางอุปสรรค์เช่นนี้ นายชาติศิริ โสภณพนิช กลับแก้ "วิกฤติ" ให้เป็น "โอกาส" โดยการเสริมสร้างรากฐานทางการเงินให้แข็งแรงขึ้นอีกครั้ง
 
ปัจจุบัน ธนาคารกรุงเทพ เป็นธนาคารที่มีสินทรัพย์มากที่สุดในประเทศ<ref> [http://www.bangkokbizweek.com/20071202/cover/index.php?news=column_25215674.html อนาคตแบงก์ไทย เดินหน้า'ฝ่ามรสุม']</ref> มีสินทรัพย์ทั้งหมดประมาณ 3.06 ล้านล้านบาท มีสาขาทั้งหมดกว่า 1,113 สาขา เครื่องเอทีเอ็มกว่า 7,500 เครื่อง สาขาไมโคร (Micro Branch) ที่เปิดให้บริการ 7 วัน มีเครือข่ายสาขาต่างประเทศทั้งหมด 32 แห่ง และสำนักงานตัวแทนอีกหนึ่งแห่งในเขตเศรษฐกิจสำคัญ 15 แห่ง
 
== ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ==
* ข้อมูล ณ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2556 <ref>[http://www.settrade.com/C04_05_stock_majorshareholder_p1.jsp?txtSymbol=BBL&selectPage=5 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่] เซ็ทเทรดดอตคอม</ref>
{|class="wikitable"
|-style="background:gainsboro"