ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Benito Mussolini and Adolf Hitler.jpg|thumb|right|200px|[[เบนิโต มุสโสลินี]]กับ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
'''สาเหตุ'''เบื้องต้น'''ของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]''' คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] และ[[สมัยระหว่างสงคราม]]ในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของ[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็น[[การบุกครองโปแลนด์]] โดย[[นาซีเยอรมนี]] ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง
 
== อุดมการณ์ ลัทธิ และปรัชญา ==
บรรทัด 10:
[[ไฟล์:Hammer and sickle.svg|thumb|right|125px|สัญลักษณ์[[ค้อนเคียว]]ของคอมมิวนิสต์]]
 
[[พรรคบอลเชวิค]] ซึ่งมีแนวคิดไม่ถือชาติและหัวรุนแรง [[การปฏิวัติเดือนตุลาคม|ก้าวขึ้นสู่อำนาจ]]ในรัสเซีย เมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1917 ซึ่งหลังจากนั้น ได้มีความพยายามที่จะสนับสนุนให้มีการจัดตั้งการปกครองที่คล้ายคลึงกันในบริเวณอื่นของโลก ซึ่งประสบความสำเร็จในฮังการีและบาราเวียวาเรีย การกระทำดังกล่าวนำมาซึ่งความกลัวต่อการปฏิวัติของ[[คอมมิวนิสต์]]ในหลายชาติยุโรปตะวันตก ยุโรปกลาง และทวีปอเมริกา ในปี ค.ศ. 1919 ฝ่ายไตรภาคีถึงกับตั้งรัฐพรมแดนขึ้นประชิดชายแดนด้านตะวันตกของรัสเซีย โดยหวังว่าจะสามารถจำกัดคอมมิวนิสต์ไม่ให้แพร่ขยายออกมาจากรัสเซีย
 
ในเยอรมนีและอิตาลี ความเฟื่องฟูของฟาสซิสต์เป็นหนึ่งในสาเหตุของการเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สองของประเทศเหล่านั้น ทั้งฟาสซิสต์ในอิตาลีและเยอรมนีต่างก็เป็นส่วนหนึ่งในปฏิกิริยาตอบโต้การจลาจลของคอมมิวนิสต์และพวก[[สังคมนิยม]] กลุ่มเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายขวาและพวก[[ทุนนิยม]] เนื่องจากว่าเป็นขบวนการซึ่งทั้งสองต่างก็อาศัยชนชั้นแรงงานและแยกพวกเขาออกจาก[[ลัทธิมาร์กซิสต์มากซ์]] ปัจจัยเพิ่มเติมในเยอรมนีคือความสำเร็จของพวก[[ไฟรคอร์พส์รคอร์]]ฝ่ายขวา ในการทำลาย[[สาธารณรัฐบาวาเรียนโซเวียต]] ในมิวนิก ปี ค.ศ. 1919 ทหารผ่านศึกจำนวนมากเหล่านี้กลายมาเป็นส่วนประกอบของหน่วยเอสเอของ[[พรรคนาซี]] ซึ่งถูกใช้เป็นกองกำลังของพรรคในการสู้รบตามท้องถนนกับชาวบ้านคอมมิวนิสต์ติดอาวุธในช่วงทศวรรษก่อนหน้า ค.ศ. 1933 ความรุนแรงตามท้องถนนจะช่วยเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นอนุรักษนิยมสายกลางไปเป็นผู้นำ[[อำนาจนิยม]]ซึ่งต่อต้านคอมมิวนิสต์ ตามความต้องการของเยอรมนี เพื่อที่จะรักษาเสถียรภาพของวิถีชีวิตดั้งเดิมไว้
 
=== แผนการเอาใจเยอรมนีของพันธมิตรตะวันตก ===
บรรทัด 18:
''ดูเพิ่มที่ [[การเอาใจฮิตเลอร์]]''
 
[[สหราชอาณาจักร]]และ[[ฝรั่งเศส]]นั้นได้ดำเนินแผนการของตนเพื่อเอาใจฝ่ายเยอรมนีในตอนปลายทศวรรษ 1930 ภายใต้แผนการการเอาใจฮิตเลอร์ เยอรมนีนั้นได้รับข้อเสนอว่าตนจะสามารถขยายพื้นที่ของตนไปทางทิศตะวันออกได้โดยไม่ต้องเผชิญหน้ากับความขัดแย้งจากทั้งอังกฤษและฝรั่งเศส แต่เหตุการณ์ดังกล่าวได้เพิมเพิ่มความทะเยอทะยานของเขาและหลังจากนั้นก็ได้เริ่มแผนการต่างๆต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่สงครามในไม่ช้า
 
=== การล่าอาณานิคมใหม่ ===
 
{{บทความหลัก|เลเบนซราอุมเลเบินส์เราม์}}
 
[[ไฟล์:Japanese Empire2.png|thumb|right|200px|การขยายตัวของ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]]]
 
การล่าอาณานิคม คือ หลักการการผนวกดินแดนหรืออำนาจทางเศรษฐกิจ โดยส่วนใหญ่แล้วจะต้องใช้กำลังทหารเข้าช่วย ใน[[อิตาลี]] [[เบนิโต มุสโสลินี]]นั้นมีความต้องการที่จะสร้าง[[จักรวรรดิโรมันใหม่]]ขึ้นรอบๆรอบ ๆ [[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] กองทัพอิตาลีได้โจมตี[[แอลเบเนีย]] เมื่อต้นปี 1939 ซึ่งเป็นช่วงเริ่มต้นของสงคราม และต่อมาก็[[กรีซ]] ก่อนหน้านั้น เขาได้ออกคำสั่งให้โจมตี[[เอธิโอเปีย]] เมื่อปี 1935 มาก่อนแล้ว แต่ว่าการกระทำดังกล่าวนี้ ได้รับการตอบสนองน้อยมากจาก[[สันนิบาตชาติ]]และฝ่ายพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยการสร้างอาณาจักรของเขานั้นจะเกิดขึ้นระหว่างช่วงที่ผู้คนไม่ปรารถนาสงคราม และช่วงเศรษฐกิจตกต่ำของโลกในช่วงทศวรรษ 1930 ทางด้านเยอรมนีนั้นก็ได้เข้ามาช่วยเหลืออิตาลีหลายครั้ง อิตาลีนั้นได้รับความขมขื่นจากดินแดนเพียงน้อยนิดซึ่งได้รับหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ระหว่าง[[สนธิสัญญาแวร์ซาย|การประชุมที่เมืองแวร์ซาย]] อิตาลีนั้นหวังจะได้ดินแดนจำนวนมากจากจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี แต่กลับได้เพียงดินแดนสองสามเมืองเท่านั้น และคำสัญญาที่ขอ[[อัลเบเนีย]]และ[[เอเชียไมเนอร์]]ก็ถูกผู้นำฝ่ายพันธมิตรอื่นๆอื่น ๆ ละเลย
 
ทางด้านเยอรมนี หลังจากสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เยอรมนีต้องสูญเสียดินแดนให้แก่[[ลิทัวเนีย]] [[ฝรั่งเศส]] [[โปแลนด์]] และ[[เดนมาร์ก]] โดยดินแดนที่เสียไปที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีก็คือ [[ฉนวนโปแลนด์]] [[นครเสรีดานซิก]] [[ไคลเปดา|แคว้นมาเมล]] (รวมกับ[[ลิทัวเนีย]]) [[มณฑลโปเซน]] และแคว้น[[อัลซาซอาลซัส-ลอเรนลอแรน]]ของฝรั่งเศส และดินแดนที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจมากที่สุด คือ [[แคว้นซิลิเซียตอนบน]] ส่วนดินแดนที่มีค่าทางเศรษฐกิจอีกสองแห่ง คือ [[รัฐซาร์ลันท์|ซาร์แลนด์]]และ[[ไรน์แลนด์]] นั้นอยู่ใต้การยึดครองของฝรั่งเศส และดินแดนที่ถูกฉีกออกไปจำนวนมากนี้ คนที่ไม่ใช่ชาวเยอรมันก็เข้ามาอาศัยเป็นจำนวนมาก
 
ผลของการสูญเสียดินแดนดังกล่าวก่อให้เกิดความขมขื่นแก่ชาวเยอรมัน และมีความสัมพันธ์อันเลวร้ายกับประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้การปกครองของ[[พรรคนาซี]] เยอรมนีก็เริ่มต้นการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติม ตั้งใจที่จะฟื้นฟูดินแดนอันชอบธรรมของ[[จักรวรรดิเยอรมนี]] โดยที่สำคัญก็คือ แคว้นไรน์แลนด์และฉนวนโปแลนด์ ซึ่งอาจจะนำไปสู่สงครามที่หลีกเลี่ยงไม่ได้กับโปแลนด์ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเอาใจของฝ่ายสัมพันธมิตร ทำให้ฮิตเลอร์มั่นใจได้ว่าสงครามกับโปแลนด์จะราบรื่นไปด้วยดี และถึงแม้จะแย่กว่านั้น ก็เพียงแค่เจรจากับฝ่ายสัมพันธมิตรเท่านั้น
บรรทัด 38:
[[ฮังการี]] ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ถูกฉีกออกไปเป็นดินแดนจำนวนมหาศาล หลังจากที่ฝ่ายพันธมิตรตัดแบ่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเดิม แต่ว่าฮังการียังคงต้องการที่จะคงความเป็นมิตรต่อกันกับเยอรมนี โดยในช่วงนี้แนวคิด[[ฮังการีอันยิ่งใหญ่]] กำลังได้รับความสนับสนุนในหมู่ชาวฮังการี
 
[[โรมาเนีย]] ซึ่งเป็นฝ่ายพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้ชนะสงคราม กลับรู้สึกว่าตนจะเป็นฝ่ายที่สูญเสียผลประโยชน์ในช่วงต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] จากผลของ[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ]] ทำให้โรมาเนียต้องสูญเสียดินแดนทางทิศเหนือให้แก่สหภาพโซเวียต [[คำตัดสินกรุงรางวัลเวียนนาครั้งที่สอง]] ทำให้โรมาเนียต้องยกแคว้นทรานซิลวาเนียตอนบนให้แก่ฮังการี และ[[สนธิสัญญาเมืองคราโจวา]] โรมาเนียต้องยกแคว้นโดบรูจากมห้แก่จากให้แก่[[บัลแกเรีย]] ในโรมาเนียเองก็มีแนวคิด[[โรมาเนียอันยิ่งใหญ่]] ซึ่งมีเป้าหมายที่จะรวมตัวกับ[[นาซีเยอรมนี]]
 
[[บัลแกเรีย]] ซึ่งเป็นพันธมิตรกับเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ได้สูญเสียดินแดนให้แก่[[กรีซ]] [[โรมาเนีย]]และ[[ยูโกสลาเวีย]] ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและใน[[สงครามคาบสมุทรบอลข่านครั้งที่สอง]]
บรรทัด 44:
[[ฟินแลนด์]] ซึ่งสูญเสียดินแดนให้แก่สหภาพโซเวียตในช่วงต้นสงครามโลกครั้งที่สอง ([[สงครามฤดูหนาว]]) ดังนั้นเมื่อเยอรมนีโจมตีสหภาพโซเวียตในปี 1941 ฟินแลนด์จึงเข้าร่วมกับเยอรมนี ด้วยหวังว่าตนจะได้รับดินแดนที่สูญเสียไปทั้งหมดกลับคืนมา
 
ในทวีป[[เอเชีย]] [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]นั้นมีความต้องการที่จะยึดครองดินแดนเพิ่มเติม เนื่องจากว่าภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ญี่ปุ่นได้รับดินแดนเพียงน้อยนิด ถึงแม้ว่าจะได้รับอาณานิคมเดิมของเยอรมนีใน[[จีน]] และหมู่เกาะอีกจำนวนหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิกแล้วก็ตาม รวมไปถึงป่าสน[[ไซบีเรีย]] และเมืองท่าของรัสเซีย [[วลาดิวอสตอกวลาดีวอสตอค]] ญี่ปุ่นนั้นไม่ได้มีความต้องการดินแดนเหล่านี้เลย ยกเว้นหมู่เกาะที่ตนเองตีได้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
และ[[ประเทศไทย]] ซึ่งเสียดินแดนกว่าครึ่งประเทศให้แก่ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีความต้องการทวงดินแดนคืนเช่นกัน
บรรทัด 55:
ฟาสซิสต์ คือ แนวคิดทางการเมืองที่รัฐบาลจะมีการออกกฎข้อบังคับและการควบคุมทางเศรษฐกิจของประเทศ มีความแข็งแกร่ง และรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ประชาชนไม่มีสิทธิ์เข้ามาเกี่ยวข้องในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับประเทศอย่างเด็ดขาด ปกครองโดยผู้เผด็จการ และมีแนวคิดเกี่ยวกับ[[ชาตินิยม]]อย่างแรงกล้า ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง หลายประเทศในทวีปยุโรปอยู่ภายใต้การปกครองด้วยฟาสซิสต์ ซึ่งสรุปแนวทางการปกครองได้ว่า การปกครองที่ดีคือการควบคุมประชาชนและอุตสาหกรรมของประเทศ
 
ฟาสซิสต์ได้มองกองทัพว่าเป็นสัญลักษณ์ของปวงชน ซึ่งประชาชนควรจะเอาเป็นเยี่ยงอย่าง หลายประเทศฟาสซิสต์จึงมีนักการทหารเป็นจำนวนมาก และการให้ความสำคัญแก่วีรบุรุษนี่เองที่เป็นอุดมคติของฟาสซิสต์ ในหนังสือ ''The Doctrine of Fascism'' ซึ่งเขียนโดยเบนิโต มุสโสลินี เขาประกาศว่า "ฟาสซิสต์ไม่ได้มีความเชื่อในความเป็นไปได้และประโยชน์ใดๆใด ๆ ในสันติภาพนิรันดรแต่อย่างใด"<ref>[http://www.worldfuturefund.org/wffmaster/Reading/Germany/mussolini.htm]</ref> ฟาสซิสต์เชื่อว่าสงครามจะเป็นการทำให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมใหม่ และเริ่มเสาะแสวงหาสงคราม ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการุรกรานประเทศจาก[[ฝ่ายอักษะ]] ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
 
=== ลัทธิโดดเดี่ยว ===
บรรทัด 63:
[[สหรัฐอเมริกา]]ได้มีแนวคิดที่จะโดดเดี่ยวทางการเมืองกับประเทศภายนอกช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยที่สหรัฐอเมริกาเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเหตุการณ์ในซีกโลกตะวันตกและ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]เท่านั้น สหรัฐอเมริกาตัดสินใจที่จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมืองในทวีปยุโรป แต่ว่ายังคงมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แนบแน่น
 
ความรู้สึกของประชาชนในอังกฤษและฝรั่งเศสก็มีแนวคิดที่จะโดดเดี่ยวเช่นกัน และเบื่อหน่ายสงคราม นายเนวิล เชมเบอร์แลนด์เชมเบอร์ลิน กล่าวถึงเชโกสโลวะเกียว่า: "โอ้ ช่างเลวร้ายและมหัศจรรย์เหลือเกินที่เราชาวอังกฤษไปขุดสนามเพลาะและพยายามใส่หน้ากากกันก๊าซพิษที่นั่น เพราะว่าความขัดแย้งอยู่ไกลจากตัวเรานัก ระหว่างคนสองจำพวกที่เราไม่รู้จัก ข้าพเจ้านั้นเป็นบุคคลแห่งสันติภาพมาจากส่วนลึกของวิญญาณของข้าพเจ้า" ภายในไม่กี่ปี โลกก็เข้าสู่[[สงครามเบ็ดเสร็จ]]
 
=== ลัทธินิยมทหาร ===
บรรทัด 89:
สนธิสัญญาแวร์ซายถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนาหูว่าเป็นมลทินของสงคราม เพราะเป็นการโยนความผิดให้แก่[[จักรวรรดิเยอรมนี]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]เดิม และลงโทษอย่างหนักเพื่อเรียกร้องให้พวกเขารับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสงคราม โดยผู้ชนะสงครามได้หวังว่าสนธิสัญญานี้จะได้กลายเป็นสิ่งที่สามารถธำรงสันติภาพให้เกิดขึ้นในโลกได้ ผลที่ตามมมา คือ เยอรมนีจำเป็นต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามเป็นจำนวนมหาศาล การสูญเสียดินแดนอาณานิคมทั้งหมด การจัดระเบียบทางเชื้อชาติขนานใหญ่ หลังจากนั้น เศรษฐกิจเยอรมันก็ร่วงดิ่งลงไปอย่างหนัก อัตราเงินเฟ้อสูงลิบ [[สาธารณรัฐไวมาร์]]จำเป็นต้องพิมพ์ธนบัตรกว่าล้านล้านฉบับออกมาและต้องกู้ยืมเงินจำนวนมหาศาลจากสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้หนี้แก่สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้ชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
 
สนธิสัญญาแวร์วายนั้นก่อให้เกิดความขมขื่นแก่ประชาชนผู้แพ้สงคราม แม้ว่าฝ่ายพันธมิจตรผู้ชนะสงครามจะให้สัญญาแก่ประชาชนชาวเยอรมันว่าแนวทาง [[หลักการสิบสี่ข้อ]] ของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา [[วูดโรว์ วิลสัน]] จะเป็นแนวทางที่จะนำไปสู่สันติภาพ ชาวเยอรมันส่วนมากเข้าใจว่ารัฐบาลเยอรมันได้ตกลงในสนธิสัญญาสงบศึกตามความเข้าใจนี้ ขณะที่ส่วนอื่นได้เข้าใจว่า [[การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1918–1919|การปฏิวัติเยอรมนี]] ได้ถูกก่อขึ้นโดย "กลุ่มอาชญากรเดือนพฤศจิกายน" ผู้ซึ่งต่อมาในมีตำแหน่งในสภาของสาธารณรัฐไวมาร์ วิลสันนั้นไม่สามารถเชิญชวนให้ฝ่ายพันธมิตรยอมปฏิบัติตามข้อเสนอของเขา และไม่สามารถชักจูงให้[[รัฐสภาคองเกรสแห่งสหรัฐอเมริกา]]ให้ลงมติยอมเข้าร่วมกับ[[สันนิบาตชาติ]]
 
ฝ่ายพันธมิตรมิได้ครอบครองส่วนใดๆใด ๆ ของเยอรมนี แม้ว่าจะมีการรบในแนวรบด้านตะวันตกมาเป็นเวลาหลายปี มีเพียงแต่อาณานิคมโพ้นทะเลของเยอรมนีเท่านั้นที่ถูกยึดครอง และอิตาลีก็ได้แคว้นทีรอลตอนใต้ไปหลังจากการเจรจาเริ่มต้น สงครามในแนวรบด้านตะวันออกทำให้[[จักรวรรดิรัสเซีย]]ล่มสลาย และทำให้เยอรมนีได้รับดินแดนมหาศาลทางยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก
 
ยังมีผู้ที่มองสนธิสัญญาแวร์ซายตรงกันข้ามว่าสนธิสัญญาดังกล่าวไม่ได้ทำให้เยอรมนีต้องประสบกับความยากลำบากมากแต่ประการใด เพราะว่าเยอรมนียังคงสามารถกลับมาเป็นชาติมหาอำนาจที่คอยท้าทายมหาอำนาจตะวันตกอีกครั้ง ซึ่งไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของฝ่ายพันธมิตร อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ทำให้ผลของสนธิสัญญาแวร์ซายไม่กระจ่างชัด โดยเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุด คือ การแพร่ขยายของลัทธิคอมมิวนิสต์ และสนธิสัญญาแวร์ซายก็เป็นหนึ่งในตัวการของการขึ้นสู่อำนาจของ[[พรรคนาซี]]
บรรทัด 101:
นอกจากทรัพยากรถ่านหินและเหล็กในปริมาณน้อยนิด ญี่ปุ่นนับได้ว่าเป็นประเทศที่ขาดแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ญี่ปุ่นในสมัยนั้น เป็นเพียงประเทศเดียวในทวีปเอเชียซึ่งมีความเจิรญทางด้านอุตสาหกรรมจนทัดเทียมประเทศตะวันตก เกรงว่าตนจะขาดแคลนวัตถุดิบเพื่อเตรียมการทำสงครามกับสหภาพโซเวียต ญี่ปุ่นนั้นได้วางเป้าหมายโดยการเสาะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติม ญี่ปุ่นบุกครอง[[แมนจูเรีย]] ในปี [[ค.ศ. 1931]] เพื่อนำวัตถุดิบไปป้อนให้แก่โรงงานอุตสาหกรรมของตนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พวกชาตินิยมจีนทางตอนใต้ของแมนจูเรียได้พยายามขับไล่กองทัพญี่ปุ่นออกไป สงครามครั้งนี้กินเวลาไปสามเดือนและสามารถผลักดันกองทัพจีนลงมไปทางใต้ แต่ว่าเมื่อวัตถุดิบที่ได้รับในแคว้นแมนจูเรียก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นจึงวางแผนที่จะเสาะหาวัตถุดิบเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ทรัพยากรน้ำมัน
 
เพื่อที่จะเยียวยาความเสียหายดังกล่าวและเพื่อเป็นการรักษาแหล่งทรัพยากรน้ำมันและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆอื่น ๆ อาจทำให้ญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก ซึ่งยังครอบครองแหล่งน้ำมันอยู่เป็นจำนวนมาก อย่างเช่น [[หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์]] โดยการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการล่าอาณานิคมของตะวันตกอาจจะนำไปสู่ความขัดแย้งกับสหรัฐอเมริกาได้ เมื่อเดือนสิงหาคม 1941 สหรัฐอเมริกาซึ่งนำเข้าน้ำมันจากญี่ปุ่นเป็นจำนวนกว่า 80% ได้ประกาศคว่ำบาตรทางการค้า ทำให้เศรษฐกิจและกำลังทหารของญี่ปุ่นกลายเป็นอัมพาต ญี่ปุ่นมีทางเลือก คือ ยอมเอาใจสหรัฐอเมริกา เจรจาประนีประนอม หาแหล่งทรัพยากรอื่นหรือใช้กำลังทหารเข้ายึดแหล่งทรัพยากรตามแผนการเดิม ญี่ปุ่นได้ตกลงใจเลือกทางเลือกสุดท้าย และหวังว่ากองกำลังของตนจะสามารถทำลายสหรัฐอเมริกาได้นานพอที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เดิม ดังนั้นญี่ปุ่นจึง[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|โจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่เพิร์ล ฮาเบอร์]] ในวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1941]] ซึ่งได้กลายมาเป็นความผิดพลาดใหญ่หลวงของญี่ปุ่น
 
=== สันนิบาตชาติ ===
บรรทัด 107:
{{บทความหลัก|สันนิบาตชาติ}}
 
สันนิบาตชาติ คือ องค์การระหว่างประเทศซึ่งจัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพื่อป้องกันสงครามที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต แนวทางปฏิบัติของสันนิบาตชาติ คือ [[การจำกัดอาวุธ]] โดยใช้หลักการ [[ความมั่นคงส่วนรวม]] การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดย[[การเจรจา]]ทาง[[การทูต]]และพัฒนา[[คุณภาพชีวิต]]ของประชากรโลก ปรัชญาทางการทูตของสันนิบาตชาติได้แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของรากเหง้าทางความคิดกว่า 100 ปีก่อนหน้านี้ ปรัชญาเก่า ได้เริ่มขึ้นจาก [[สภากรุงการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]] ในปี [[ค.ศ. 1815]] ซึ่งทวีปยุโรปได้มีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตในหลายประเทศ และทำให้เกิดการถ่วงดุลอำนาจและข้อตกลงลับระหว่างพรรคพวก ภายใต้ปรัชญาใหม่ สันนิบาตชาติ คือ รัฐบาลที่ปกครองรัฐบาล เพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศในการเปิดกระทู้ถาม แรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดสันนิบาตชาติ คือ ประธานาธิบดีวู้ดโรว์ วิลสัน ถึงแม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะมิได้เข้าร่วมก็ตาม เหตุการณ์ซึ่งตามมาภายหลังได้ให้บทเรียนแก่สมาชิกของสันนิบาตชาติว่าการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและอำนาจทางทหารจะมีอำนาจเหนือกว่าความต้องการของสันนิบาติชาติ
 
สันนิบาตชาติมีกำลังทหารไม่เพียงพอ ต้องขึ้นอยู่กับความตั้งใจของสมาชิกสันนิบาตชาติ การคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจซึ่งทางสันนิบาตสั่งให้ทำ หรือเพิ่มเติมกำลังทหารให้แก่สันนิบาต ซึ่งส่วนใหญ่สมาชิกไม่เต็มใจที่จะทำ
บรรทัด 117:
{{บทความหลัก|ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่}}
 
สืบเนื่องมาจาก[[ตลาดหุ้นวอลล์สตรีทหลักทรัพย์นิวยอร์ก]]ของสหรัฐอเมริกาล่มในปี [[ค.ศ. 1929]] ได้ก่อให้เกิดผลกระทบทั่วทั้งโลก กลุ่มประเทศในทวีปยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ เยอรมนี ได้รับผลกระทบอย่างมาก ซึ่งได้นำไปสู่การตกงาน ความยากจนและการก่อจลาจลไม่สิ้นสุด และความรู้สึกหมดหวัง ก็ได้ทำให้ในเยอรมนี [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ได้รับการเลือกตั้งอย่างถล่มถลายและขึ้นสู่อำนาจในเยอรมนี รวมไปถึงผู้นำเผด็จการอื่นๆอื่น ๆ ในสมัยนั้น
 
=== สงครามกลางเมืองยุโรป ===
บรรทัด 135:
สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียเริ่มต้นขึ้นในสมัยของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 3]] ซึ่งพระองค์ได้รับรู้ถึงภัยคุกคามที่มาจากเยอรมนีและต่อมาได้ประกาศสงคราม ช่วงเวลาดังกล่าวได้ทำให้ฝรั่งเศสอ่อนแอลงมาก และมีผลจนกระทั่งศตวรรษที่ 20
 
ชัยชนะของสงครามเป็นของปรัสเซียอย่างท้วมท้น และทำให้เกิด [[การรวมชาติเยอรมนีเยอรมัน]]ขึ้น แคว้น[[แคว้นอัลซาซอาลซัส-ลอแรน]]ของฝรั่งเศสตกอยู่ในมือของเยอรมนี ฝรั่งเศสหวั่นเกรงมากถึงกับต้องถ่วงดุลอำนาจกับเยอรมนีโดยการแสวงหาพันธมิตรกับสหราชอาณาจักรและจักรวรรดิรัสเซีย
 
=== สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ===
บรรทัด 159:
[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ได้ทำให้เกิดอัตราว่างงานกว่า 33% ในเยอรมนี และอีก 25% ในสหรัฐอเมริกา ทำให้ประชาชนให้ความสนับสนุนแก่การปกครองแบบ[[เผด็จการ]] เพื่อต้องการการงานที่มั่นคงและอาหารที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต
 
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ได้ทำลายเศรษฐกิจเยอรมนีเป็นอันดับสองรองจากสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ชาวเยอรมันผู้ตกงานได้สนับสนุนแนวคิดของพรรคนาซี ซึ่งเคยเสียความน่าเชื่อถือไปบ้าง เนื่องจากมีสมาชิกของพรรคที่ไม่แน่นอน เหตุการณ์ดังกล่าวได้ทำให้ฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจในเยอรมนี และเป็นเชื้อไฟของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โรงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจธนาคารได้เข้าไปลงทุนเพื่อที่จะสร้างทวีปยุโรปขึ้นมาใหม่ แต่หลังจาก [[เหตุการณ์ตลาดหุ้นวอลล์หลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก สตรีทพังทลายปีค.ศ. 1929]] นักลงทุนในสหรัฐอเมริกาก็เลิกการลงทุนในทวีปยุโรป
 
=== ลัทธิเผด็จการนาซี ===
บรรทัด 165:
{{บทความหลัก|เกลอิชซชาลทุง|นาซีเยอรมนี|พรรคนาซี}}
 
[[ฮิตเลอร์]]ได้รับตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี]]เมื่อวันที่ [[30 มกราคม]] [[ค.ศ. 1933]] เขาได้ใช้[[เหตุการณ์เหตุเพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทักไรชส์ทาค]] (ซึ่งมีบางคนกล่าวว่าพรรคนาซีเป็นต้นเหตุเสียเอง) เป็นเหตุให้เขายกเลิกเสรีภาพของประชาชนและนักการเมืองทั้งหมด ซึ่งได้ออกประกาศโดยประธานาธิบดี[[เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก]] และ[[รัฐบาลผสม]] ซึ่งมีแนวความคิดเอียงขวา นำโดยอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
 
หลังจากการเลือกตั้งครั้งใหม่ พรรคนาซีได้ล้มล้าง[[ระบบรัฐสภา]] รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ และล้มล้างรัฐสภาอย่างเต็มรูปแบบผ่าน[[รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]] เมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] ซึ่งพรรคนาซีวางแผน [[เกลอิชซชาลทุง]] และทำให้ถูกต้องตามกฎหมายในเยอรมนี ทำให้อำนาจการปกครองถูกรวมเข้าสู่ศูนย์กลาง คือ พรรคนาซี ใน "[[คืนแห่งมีดเล่มยาว]]" สมาชิกพรรคนาซีได้สังหารศัตรูทางการเมืองของฮิตเลอร์ หลังจากฮินเดนเบิร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ [[2 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1934]] ตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีตกเป็นของฮิตเลอร์ โดยไม่เกิดการต่อต้านจากผู้บัญชาการระดับสูง คำสาบานของเหล่าทหารนั้นหมายความว่า ทหารเยอรมันจะยอมเชื่อฟังอดอล์ฟ ฮิตเลอร์โดยสมบูรณ์
 
ต่อมา ฮิตเลอร์ได้ฝ่าฝืนสนธิสัญญาแวร์ซายและ[[สนธิสัญญาโลคาร์โน]] เยอรมนีได้[[การส่งทหารกลับเข้าประจำการในแคว้นไรน์แลนด์|ส่งทหารกลับเข้าประจำการในแคว้นไรน์แลนด์]] เมื่อวันที่ [[7 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1936]] ซึ่งก็ได้รับความสำเร็จอย่างงดงาม กองทหารเยอรมันเดินทางโดยรถจักรยาน และสามารถถูกยับยั้งอย่างง่ายดายถ้าหากฝ่ายสัมพันธมิตรยกเลิกแผนการเอาใจฮิตเลอร์ ฝรั่งเศสไม่สามารถทำอะไรได้ในเวลานั้น เนื่องจากขาดเสถียรภาพทางการเมือง และอีกประการหนึ่ง คือ การส่งทหารกลับเข้าประจำการนั้นเกิดขึ้นในวันสุดสัปดาห์ และรัฐบาลอังกฤษยังไม่สามารถประชุมหารือกันได้จนกว่าจะถึงวันจันทร์ ผลที่ตามมา คือ อังกฤษก็มิได้ห้ามปรามเยอรมนีแต่อย่างใด
บรรทัด 175:
{{บทความหลัก|สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง}}
 
เบนิโต มุสโสลินีได้พยายามขยายอาณาเขตของจักรวรรดิอิตาลีใน[[ทวีปแอฟริกา]]ด้วยการบุกครอง[[เอธิโอเปีย]] ซึ่สามารถดำรงเอกราชได้จากชาติยุโรปผู้แสวงหาอาณานิคมอื่นๆอื่น ๆ ในคำแก้ตัวของเหตุการณ์วอลวอล เมื่อเดือนกันยายน 1935 อิตาลีบุกครองเอธิโอเปียเมื่อวันที่ [[3 ตุลาคม]] โดยปราศจากการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ สันนิบาตชาติได้ประกาศว่าอิตาลีเป็นผู้บุกครอง แต่ก็ไม่สามารถลงโทษอิตาลีได้แต่อย่างใด
 
สงครามดำเนินไปอย่างเชื่องช้า แม้ว่าฝ่ายอิตาลีจะมีกำลังคนและอาวุธที่ดีกว่า (รวมไปถึง [[ก๊าซมัสตาร์ด]]) เมื่อวันที่ [[31 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1936]] กองทัพอิตาลีได้รับชัยชนะเด็ดขาดในสงครามที่ [[ยุทธการเมย์ชิว]] จักรพรรดิ[[ฮาสมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย|จักรพรรดิเฮลี เซลาสซี]] ได้หลบหนีออกนอกประเทศเมื่อวันที่ [[2 พฤษภาคม]] ต่อมา สามารถยึดเมืองหลวง [[เออาดดิส อบาบาอาบาบา]] ได้เมื่อวันที่ [[5 พฤษภาคม]] และอิตาลีสามารถยึดครองได้ทั้งประเทศเมื่อวันที่ [[7 พฤษภาคม]] และรวมเอา[[เอริเทรีย]] [[เอธิโอเปีย]]และ[[โซมาลีแลนด์]]เข้าด้วยกันเป็นรัฐเดี่ยว เรียกว่า [[แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี]]
 
เมื่อวันที่ [[30 มิถุนายน]] 1936 จักรพรรดิฮาเฮลี เซลาสซีได้กล่าวสุนทรพจน์ต่อสันนิบาติชาติประณามการกระทำของอิตาลีและวิพากษ์วิจารณ์ต่อประเทศอื่นที่ไม่ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ พระองค์ได้เตือนว่า "วันนี้เป็นคราวของเรา แต่มันจะถึงคราวของท่านเมื่อถึงวันพรุ่งนี้" และจากการที่สันนิบาติชาติกล่าวโจมตีอิตาลี มุสโสลินีจึงประกาศให้อิตาลีถอนตัวออกจากความเป็นสมาชิกของสันนิบาติชาติ
 
=== สงครามกลางเมืองสเปน ===
บรรทัด 185:
{{บทความหลัก|สงครามกลางเมืองสเปน}}
 
เยอรมนีและอิตาลีได้ให้ความช่วยเหลือแก่[[พวกชาตินิยม]]สเปน นำโดยนายพล[[ฟรานซิสโก ฟรังโก]] ทางด้านสหภาพโซเวียตเองก็ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือฝ่ายรัฐบาลแห่ง[[สาธารณรัฐสเปนที่ 2|สาธารณรัฐสเปน]]ซึ่งรัฐบาลโซเวียตเห็นว่ารัฐบาลสเปนมีแนวคิดเอียงซ้าย ทั้งสองฝ่ายได้นำยุทโธปกรณ์และยุทธวิธีใหม่ออกมาใช้ในการทำสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การทิ้งระเบิดทางอากาศ
 
=== สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง ===
บรรทัด 207:
{{บทความหลัก|ข้อตกลงมิวนิก}}
 
[[ซูเตเดนแลนด์ซูเดเทินลันท์]]ก็เป็นอีกหนึ่งแคว้นซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นคนที่พูดภาษาเยอรมัน ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเชโกสโลวาเกียซึ่งมีอาณาเขตดิดต่อกับนาซีเยอรมนี รวมไปถึงมันมีระบบการป้องกันซึ่งสร้างขึ้นผ่านเขตภูมิประเทศที่เป็นภูเขา และมีขนาดใหญ่ยิ่งกว่า [[แนวมากินอต]] แคว้นซูเดเตนแลนด์มีขนาดเป็นหนึ่งในสามของแคว้นโบฮีเมียเมื่อเทียบกันในด้านขนาด จำนวนประชากรและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เชโกสโลวาเกียมีกองทัพอันทันสมัย 38 กองพล และมีอุตสาหกรรมการผลิตอาวุธที่ดี และยังเป็นพันธมิตรทางการทหารกับฝรั่งเศสและสหภาพโซเวียต
 
ฮิตเลอร์ได้กดดันให้แคว้นซูเดเตแลนด์รวมเข้ากับนาซีเยอรมนี และยังได้สนับสนุนกลุ่มแบ่งแยกดินแดนชาวเยอรมันในพื้นที่ ตามข้อกล่าวหาที่ว่าพวกเช็คข่มเหงและทำร้ายชาวเยอรมัน ทำให้กลุ่มชาตินิยมโอนเอียงไปทางนาซีเยอรมนี หลังจากฮิตเลอร์ผนวกออสเตรียแล้ว พรรคการเมืองเยอรมันทุกพรรค (ยกเว้นพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยแห่งเยอรมนี) รวมเข้ากับ [[พรรคซูเตเดนซูเดเทินเยอรมัน]]ทั้งหมด กิจกรรมทางการทหารและพวกที่นิยมความรุนแรงได้เผยตัวออกมาในช่วงเวลานี้ รัฐบาลเชโกสโลวาเกียจึงประกาศกฎอัยการศึกในแคว้นซูเตเดนแลนด์ซูเดเทินลันท์เพื่อรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่ว่ากฎดังกล่าวก็เป็นเพียงการเข้าแทรกแซงเหตุการณ์เท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งตอนที่พวกชาตินิยมเชโกสโลวาเกียผุดขึ้นมา และหมดความเคลือบแคลงต่อการกระตุ้นของรัฐบาลนาซีและรัฐบาลสโลวาเกีย พรรคนาซีสบโอกาส อ้างว่าจะผนวกซูเตเดนแลนด์ซูเดเทินลันท์เข้าสู่นาซีเยอรมนีเพื่อปกป้องชาวเยอรมันในพื้นที่
 
ใน[[ข้อตกลงมิวนิก]] ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ [[30 กันยายน]] [[ค.ศ. 1938]] นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร นาย[[เนวิล เชมเบอร์แลนด์เชมเบอร์ลิน]] และผู้นำฝรั่งเศสได้เอาใจฮิตเลอร์ ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ปล่อยให้เยอรมนีส่งทหารเข้าสู่พื้นที่และให้รวมเข้าสู่นาซีเยอรมนี "เพื่อประโยชน์แก่สันติภาพ" เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน ฮิตเลอร์ได้ให้สัญญาว่าเขาจะไม่แสวงหาดินแดนใหม่เพิ่มเติมในทวีปยุโรป เชโกสโลวาเกียซึ่งได้เรียกระดมพลไปแล้วมีทหารกว่าหนึ่งล้านนาย และเตรียมพร้อมที่จะทำการรบ กลับไม่มีส่วนร่วมในการประชุมครั้งนี้ เมื่อผู้แทนอังกฤษและฝรั่งเศสได้แจ้งให้เชโกสโลวาเกียทราบ และถ้าหากเชโกสโลวาเกียไม่ยอมรับข้อตกลงดังกล่าว ทั้งอังกฤษและฝรั่งเศศจะถือว่าเชโกสโลวาเกียจะต้องรับผิดชอบต่อสงครามที่จะเกิดขึ้น ประธานาธิบดี[[เอ็ดวาร์ด บีเนส]] จำต้องยอมรับข้อเสนอ เยอรมนีจึงเข้ายึดซูเตเดนแลนด์ซูเดเทินลันท์โดยไม่มีการต่อต้านใดๆใด ๆ ทั้งสิ้น
 
เมื่อถึงเดือนมีนาคม [[ค.ศ. 1939]] เยอรมนีได้ฉีกข้อตกลงมิวนิก และบุกกรุง[[ปราก]] และสโลวาเกียประกาศเอกราช ประเทศเชโกสโลวาเกียล่มสลาย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ยุตินโยบายเอาใจฮิตเลอร์ของอังกฤษและฝรั่งเศส และปล่อยให้เยอรมนีมีอำนาจในทวีปยุโรป
บรรทัด 219:
{{บทความหลัก|การบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี}}
 
หลังจากเยอรมนียึดครองเชโกสโลวาเกียได้สำเร็จ อิตาลีมองเห็นว่าตนอาจจะเป็นสมาชิกที่สองของฝ่ายอักษะ [[กรุงโรม]]ได้ยื่นคำขาดแก่กรุง[[ติรานา]] เมื่อวันที่ [[25 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1939]] โดยต้องการให้อิตาลียึดครองแอลเบเนีย [[พระเจ้าซอคซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย]] ปฏิเสธที่จะได้รับเงินตอบแทนเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนแลกกับการยึดแอลเบเนีย เมื่อวันที่ [[7 เมษายน]] มุสโสลินีส่งกองทัพอิตาลีเข้าบุกครองแอลเบเนีย หลังจากการรบในช่วงเวลาสั้นๆสั้น ๆ แอลเบเนียก็พ่ายแพ้ แต่ยังคงสู้อย่างห้าวหาญ
 
=== สงครามชายแดนโซเวียต-ญี่ปุ่น ===
 
{{บทความหลัก|ยุทธการแห่งที่ฮาลฮิน โกกอล}}
 
ในปี 1939 กองทัพญี่ปุ่นโจมตีจากทางเหนือของ[[แมนจูกัว]]เข้าสู่เขต[[ไซบีเรีย]] ซึ่งถูกตีแตกกลับมาโดยกองทัพโซเวียตภายใต้การนำของนายพล[[เกออร์กี จูคอฟ]] หลังจากการรบครั้งนี้ สหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นก็เป็นมิตรกันเรื่อยมาจนกระทั่งปี 1945 ญี่ปุ่นได้เปลี่ยนแผนการของตนโดยหาทางขยายอาณาเขตของตนลงไปทางใต้ และนำไปสู่ความขัดแย้งกับสหรัฐอเมริกาบนแผ่นดินฟิลิปปินส์ และแนวเส้นทางเดินเรือของ[[หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์]] ส่วนทางด้านสหภาพโซเวียตก็ได้มุ่งเป้าไปทางทิศตะวันตก และคงทหารแดงไว้ประมาณ 1,000,000-1,500,000 นายเพื่อรักษาแนวชายแดนที่ติดกับญี่ปุ่น