ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| footnotes =
}}
'''ท้าวสมศักดิ์''' นามเดิม '''เหม''' (พ.ศ. 2382 — 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465) เป็นพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="ราชกิจจา">{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 21 |issue= 32 |pages= 570 |title= พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ ฝ่ายใน |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/032/570.PDF |date= 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 |language= ไทย }}</ref> ประสูติกาลประสูติการพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์]] ต้นราชสกุลโศภางค์ ณ อยุธยา<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/><ref name= "โศภางค์">{{cite web |url= http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9510000017810 |title= ย้อนรอยสายราชสกุล…ในพระบรมราชจักรีวงศ์ (จบ) |author=|date= 13 กุมภาพันธ์ 2551 |work= ผู้จัดการรายวัน |publisher=|accessdate= 28 เมษายน 2560 }}</ref>
 
== ประวัติ ==
ท้าวสมศักดิ์ มีนามเดิมว่า'''เหม''' เกิดราวปี พ.ศ. 2382 เป็นธิดาของพระอัคนีสร (พิณ) กับแย้ม (สกุลเดิม สุวรรณทัต) มารดาเป็นน้องสาวของพระยาราชภักดี (ทองคำ สุวรรณทัต)<ref name= "พลายน้อย">''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม'', หน้า 315</ref><ref name="กัลยา">''พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระชายานารี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม ในรัชกาลที่ ๑-๗'', หน้า 133</ref> และ[[เจ้าจอมมารดางิ้ว]] พระชนนีใน[[สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี]]<ref>''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม'', หน้า 76</ref> นอกจากนี้ยังเป็นญาติกับ[[เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4]] เมื่อนับจากฝ่ายมารดา<ref>''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม'', หน้า 313</ref><ref>''พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระชายานารี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม ในรัชกาลที่ ๑-๗'', หน้า 131</ref>
 
เจ้าจอมมารดาเหมได้เข้าถวายตัวเป็นฝ่ายในสนองพระเดชพระคุณเป็นพระสนมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตรัสเรียกเจ้าจอมมารดาเหมว่า "แฝดเหม"<ref>''คาถาพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระนามพระราชโอรสธิดา'', หน้า 36</ref> และได้รับพระราชทานหีบลงยาและขันทองคำ<ref name="ราชกิจจา"/> เจ้าจอมมารดาเหมประสูติกาลประสูติการพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์]] (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 — 11 ตุลาคม พ.ศ. 2432) เป็นต้นราชสกุลโศภางค์ ณ อยุธยา<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/><ref name= "โศภางค์"/>
 
หลังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตแล้ว เจ้าจอมมารดาเหมก็ยังพำนักอยู่ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ด้วยทรงพระกรุณาแต่งตั้งให้เป็น '''ท้าวสุภัตติการภักดี''' พนักงานตรวจเครื่องวิเสทสำหรับราชการต่าง ๆ ในพระมหามณเฑียร ถือศักดินา 1,000 ตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 8 |issue= 33 |pages= 282 |title= พระราชทานสัญญาบัตรฝ่ายใน |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/033/282.PDF|date= 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434| accessdate =12 กรกฎาคม 2560 |language= ไทย }}</ref> ต่อมาเลื่อนเป็น '''ท้าวอินทรสุริยา''' ปฏิบัติงานห้องเครื่องวิเสท และตำแหน่ง '''ท้าวสมศักดิ์''' ปฏิบัติงานว่าการพนักงานฝ่ายในทั้งปวง เป็นตำแหน่งสุดท้าย<ref name= "ราชสกุลวงศ์"/><ref name= "พลายน้อย"/><ref name= "กัลยา"/>
 
ท้าวสมศักดิ์ ป่วยเป็นโรคชรา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 สิริอายุ 83 ปี เวลาพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ มีประโคมกลองชนะเขียว 10 จ่าปี่ 1 หีบลองในและหีบทองประกอบนอก กับรถวอประเทียบรับศพเป็นเกียรติยศ<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 39 |issue= ง |pages= 2363 |title= ข่าวตาย |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/D/2363_1.PDF|date= 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465| accessdate =12 กรกฎาคม 2560 |language= ไทย }}</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ท.จ.ว.|2454}} (ฝ่ายใน)<ref>{{cite journal|journal= ราชกิจจานุเบกษา |volume= 28 |issue= 0ง |pages= 1767 |title= พระราชพิธีฉัตรมงคล แลถวายบังคมพระบรมรูป |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1783.PDF |date= 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 |language= ไทย }}</ref>