ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเมจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 58:
== การเมืองการปกครองตอนต้นรัชกาล ==
{{ประวัติศาสตร์จักรวรรดิญี่ปุ่น}}
เหตุผลหลักที่ผู้นำคนสำคัญในรัฐบาลชุดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[โอกูโบะ โทชิมิชิจิ]] และ[[ไซโง ทากาโมริ]] แห่ง[[แคว้นซะสึมะซัตสึมะ]] ได้กราบทูลเชิญจักรพรรดิเมจิไปยังโตเกียว ก็เพื่อผลักดันให้สมเด็จพระจักรพรรดิพระประมุขเป็นอิสระจากแนวคิดและลักษณะอนุรักษนิยมของชาวเกียวโต ค.ศ. 1871 ไซโกได้ทูลเกล้าฯ ถวายเสนอแผนปฏิรูปโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
 
* อันดับแรก เพื่อลดจำนวนนางกำนัลที่คอยถวายรับใช้พระจักรพรรดิลง เขาชี้แจงว่านับแต่อดีตมาจนบัดนั้น พวกนางมักจะมีอิทธิพลครอบงำวังหลวงมากเกินไป
* อันดับที่สอง เพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลต่างๆต่าง ๆ ทั้งฝ่ายทหารตั้งแต่ชั้นนักรบสามัญหรือซามูไรขึ้นไป และผู้ที่สืบเชื้อสาย หรือสืบความรู้ทางการปกครอง ได้เข้าทำงานและรับพระราชทานตำแหน่งสูง ๆ ตามความเหมาะสมภายในวังหลวงได้
 
อิทธิพลการศึกษาแบบอนุรักษนิยมส่งผลให้สมเด็จพระจักรพรรดิทรงคัดค้านแผนปฏิรูปเหล่านี้ ก่อนที่จะโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเป็นพระราชโองการได้ใน ค.ศ. 1872 ไม่ช้า สมเด็จพระจักรพรรดิก็สนิทสนมกับไซโกโงเป็นพิเศษเขา ไซโงสนับสนุนให้พระองค์ทรงม้าเพื่ออกกำลังเสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่พระวรกาย และส่งเสริมให้มีความสนพระทัยในการทหารในฐานะที่ทรงเป็นจอมทัพ จักรพรรดิเมจิโปรดการออกตรวจกำลังพล ที่ส่วนใหญ่มาจากเมืองโชชู[[แคว้นโชชู]]และซะสึมะซัตสึมะ เรียกว่า '''โกะโกชิมเป''' (ทหารราชองค์รักษ์ราชองครักษ์) จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1871
 
== ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรสยาม ==
รัชสมัยของพระองค์ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]แห่งราชอาณาจักรสยาม ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระประสงค์ที่จะสืบทอดความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรสยามและจักรวรรดิญี่ปุ่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงส่ง[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการ]] (พระยศในขณะนั้น) [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|เสนาบดีว่าการ]][[กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)|กระทรวงการต่างประเทศ]]เป็นผู้แทนพระองค์เสด็จไปเจริญสัมพันธไมตรีและลงพระนามใน[[สนธิสัญญา]]กับผู้แทนพระองค์ของจักรพรรดิเมจิที่กรุงโตเกียวเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 1887<ref>{{cite news|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/038/305.PDF |title=หนังสือแรติฟิเคชันแห่งหนังสือประกาศทางพระราชไมตรี |publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=6 มกราคม 1888 |access-date=23 ธันวาคม 2019 |quote="...หนังสือปฏิญญาณฉบับหนึ่ง ว่าด้วยทางพระราชไมตรีแลการค้าขาย ในระหว่างประเทศสยามกับประเทศยี่ปุ่น ได้ทำตกลงกันที่กรุงโตกิโย ณวัน ๒ เดือน ๑๑ ขึ้น ๙ ค่ำปีกุนนพศก จุลศักราช ๑๒๔๙ ตรงกับวันที่ ๒๖ เดือน ๙ ศักราชไมชี ๒๐ ปี แลตรงกับวันที่ ๒๖ เซบเตมเบอคฤสตศักราช ๑๘๘๗...ฝ่ายสมเดจพระเจ้ากรุงสยาม พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทวะวงษวโรประการ เสนาบดีผู้ว่าการต่างประเทศ..."}}</ref> เพื่อกระชับสัมพันธไมตรีและส่งเสริมการค้าระหว่างทั้งสองประเทศ ในเวลาต่อมาหลังจาก[[พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย|พระราชพิธีกาญจนาภิเษก]]ใน[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]]แห่ง[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]] [[:en:Prince Komatsu Akihito|เจ้าชายอากิฮิโตะ โคมัตสึโนะมิยะ]]และคณะผู้แทนพระองค์ของสมเด็จพระจักรพรรดิระหว่างทางเสด็จกลับจากสหราชอาณาจักร<ref>{{cite news|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/030/240_1.PDF |title=ข่าวเจ้ายี่ปุ่นจะเข้ามากรุงเทพฯ |publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=7 พฤศจิกายน 1887 |access-date=23 ธันวาคม 2019 |quote="...กำหนดเจ้ายี่ปุ่นชื่อปรินสกุมัสสุซึ่งเปนผู้แทนสมเดจพระเจ้าเอมเปอเรอยี่ปุ่น ไปในการเฉลิมศิริราชสมบัติสมเดจพระนางเจ้าราชินีกรุงอังกฤษ จะกลับจากกรุงอังกฤษมาถึงเมืองสิงคโปร์...พระบาทสมเดจพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดวังสราญรมย์สำหรับเปนที่พัก..."}}</ref>ได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและประทับที่[[วังสราญรมย์]] ในการนี้ สมเด็จพระจักรพรรดิได้ทรงมีพระบรมราชโองการให้เจ้าชายโคมัตสึโนะมิยะนำพระราชสาส์นเจริญพระราชไมตรีและ[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ]]ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ระดับสูงที่สุดของญี่ปุ่นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref>{{cite news|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/032/257.PDF |title=เจ้ายี่ปุ่นเข้าเฝ้าทูลลอองธุลีพระบาท |publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=7 พฤศจิกายน 1887 |access-date=23 ธันวาคม 2019 |quote="...แล้วปรินส์ อากิหิโต โกมัตสุ ทูลเกล้าฯ ถวายพระราชสาสน ของสมเดจพระเจ้ามุสุหิโต มิคาโด ราชาธิราชประเทศยี่ปุ่น เจริญทางพระราชไมตรี แลถวายเครื่องราชอิสริยยศยี่ปุ่นอย่างสูงชื่อไครเสนถิมัม..."}}</ref> ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระบรมราชโองการให้[[เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)|พระยาภาสกรวงศ์]] ที่ปรึกษาราชการในพระองค์ที่ไว้วางพระราชหฤทัยนำพระราชสาส์นตอบและ[[เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์]]ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ระดับสูงที่สุดของสยามในสมัยนั้น ([[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์]]ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ระดับสูงที่สุดของไทยในปัจจุบันสถาปนาขึ้นในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]]) ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระจักรพรรดิ<ref>{{cite news|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/038/307.PDF |title=สำเนาพระราชสาสนไปเมืองยี่ปุ่น |publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]] |date=30 พฤศจิกายน 1887 |access-date=23 ธันวาคม 2019 |quote="...ด้วยในการที่เราได้ทรงมอบให้ที่ปฤกษาราชการอันเปนที่รัก แลไว้วางพระราชหฤไทยของเรา พระยาภาสกรวงศ ที่ปฤกษาราชการแผ่นดิน จางวางมหาดเล็ก ที่ปฤกษาราชการในพระองค์ เลฟเตอแนนตคอลอแนลตำแหน่งวิเสศ ในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์...ได้ให้เรามีโอกาศอันเปนที่ยินดีเหมือนกัน ที่จะได้ทรงตั้งพระองคด้วยเครื่องขัตติยราชอิศริยยศ อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งตรามหาจักรกรี บรมราชวงษของเรา เพื่อเปนที่หมายอย่างสูงสุดแห่งทางพระราชไมตรีแลความนับถึออย่างยิ่ง..."}}</ref>
 
== สงครามกับจีน ==