ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเนียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
 
===การเหยียดสำเนียงในภาษาไทยกลาง===
{{ต้นฉบับ}}
ในภาษาหนึ่งๆที่มีพูดจำนวนมากมักมีสำเนียงถิ่นหลายแบบและเป็นเรื่องที่พบได้ทั่วไปใน[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และสำเนียงที่คุ้นหูคนไทยมากที่สุดมีสามสำเนียงถิ่นได้แก่สำเนียงมาตรฐาน, สำเนียงสุพรรณบุรีและสำเนียงกรุงเทพ โดยต้นกำเนิดของสำเนียงมาตรฐานซึ่งได้รับรองจาก[[ราชบัณฑิตยสถาน]]เกิดจาก[[ชาวมอญ|ชาวรามันอพยพ]]ที่อาศัยอยู่ในเขตปริมณฑลผสมผสานกับชาว[[ไทยสยาม]]ที่แตกระส่ำระสายหลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|เสียกรุงศรีอยุธยา]]เป็นเวลาหลายร้อยปี ในขณะที่สำเนียงสุพรรณบุรีคือสำเนียงของชาวไทยสยามที่รอดจากการถูกกวาดต้อนของ[[ราชวงศ์โก้นบอง|รัฐบาลโก้นบอง]]หลังเสียกรุงศรี ซึ่งทั้งสองสำเนียงถิ่นมีความต่างเพียงแค่วรรณยุกต์เป็นหลัก