ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนิเมะมิวสิกวิดีโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sard112 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อนิเมะมิวสิกวิดีโอ''' ({{lang-en|anime music video}}) หรือเรียกสั้นๆว่า '''เอเอ็มวี''' (AMV) เป็นแฟนเมด[[มิวสิกวิดีโอ]]ที่ประกอบด้วยคลิปจาก[[แอนิเมชัน]]หรือนำ[[การ์ตูนญี่ปุ่น]]ทีวีหรือมูฟวี หนึ่งเรื่องหรือมากกว่า นำมาทำอย่างน้อยหนึ่งชุดเพื่อตั้งค่าให้ประกอบเป็นเพลง อนิเมะมิวสิกวิดีโอคลิป โดยมักจะหมายถึงแฟนเมดที่ทำวิดีโออย่างไม่เป็นทางการจะเรียกว่า เอเอ็มวี (AMV) นอกจากนี้ยังสามารถเอาวิดีโอเกมมาทำมิวสิกวิดีโอ โดยเอาภาพที่ถ่ายไว้มาใส่กันโดยใช้เพลงหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันจะเรียกว่า จีเอ็มวี (GMV)หรือเสียงภาพยนตร์ตัวอย่าง
 
เอเอ็มวี ไม่ได้รวมกับมิวสิกวิดีโอของนักทำแอนิเมชันอย่างมืออาชีพ (เช่นมิวสิกวิดีโอหลายเพลงของวง [[ไอเอิร์นเมเดน]]) หรือภาพยนตร์มิวสิกวิดีโอเพลงสั้นๆ (เช่นศิลปินคู่ดูโอของญี่ปุ่น ชะชาเงะแอนด์อะซะอาซากะ กับเพลง "On Your Mark" ที่ถูกผลิตโดย [[สตูดิโอจิบลิ]]) เอเอ็มวีอาจไม่ได้รวมกับแฟนเมดที่ใช้แอนนิเมชันทั่วไปที่ไม่ใช่การ์ตูนญี่ปุ่นแต่จะมีแหล่งของการ์ตูนตะวันตก หรือกับการปฏิบัติของ[[วิดดิง]] (Vidding) ในแฟนดอมแบบตะวันตก ซึ่งรวมกันการพัฒนาและมีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกันและวัฒนธรรมแฟน อนิเมะมิวสิกวิดีโอ เป็นแนวย่อยนอกเหนือจาก "แอนิเมดิดมิวสิกวิดีโอ" (animated music video) นอกจากยังขนานว่าสามารถถูกเขียนได้ระหว่าง เอเอ็มวี (AMV) และ ซองวิด (Songvid) ที่ไม่ใช่แอนิเมชันที่ทำโดยแฟนเมดโดยใช้ภาพจากภาพยนตร์ซีรีส์โทรทัศน์หรือจากแหล่งที่มาอื่นๆ
เอเอ็มวี ไม่ได้เป็นมิวสิกวิดีโออย่างเป็นทางการที่ออกโดยนักดนตรี แต่เป็นมือสมัครเล่นที่ทำคลิปวิดีโอโดยมีแทร็กเสียง เอเอ็มวี จะมีวางจำหน่ายอย่างเป็นกันเองมากที่สุดส่วนใหญ่มักจะผ่านทางอินเทอร์เน็ต มักจะเรียกประชุมบ่อยหรือการจัดนิทรรศการการประกวด เอเอ็มวี ในขณะที่ตามธรรมเนียม เอเอ็มวี จะใช้วิดีโอจาก อนิเมะ, เกม ที่นำเอามาทำเป็นวิดีโอโดยมีการเลือกตอนหรือฉากที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นตัวเลือกที่นิยม<ref>Such video game clips feature in over 10% of current AMVs according to AnimeMusicVideos.org statistics as of February 2007</ref> เพลงที่ใช้ในการทำ เอเอ็มวีจะมีความหลากหลายมากโดยใช้แนวเพลงเช่น [[เจป็อป]], [[ร็อก]], [[ฮิปฮอป]], [[ป็อป]], [[อาร์แอนด์บี]], [[คันทรี (แนวดนตรี)|คันทรี]] และ อื่น ๆ อีกมากมาย
 
อนิเมะมิวสิกวิดีโอได้ถูกทำขึ้นครั้งแรกในปี 1982 โดย จิม คาโปสสตัซ (Jim Kaposztas) อายุ 21 ปี<ref>{{cite web |url=http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fo20071115pm.html |last=Macias |first=Patrick |authorlink=Patrick Macias |title=Remix this: anime gets hijacked |publisher=[[Japan Times]] |date=2007-11-15 |accessdate=2009-10-20}}</ref> ผู้ซึ่งติดทั้ง[[วีซีอาร์]] (ที่มีเครื่องอัดวิดีโอ)สองเครื่อง และการตัดต่อที่กำลังใช้จากนำฉากของการ์ตูนเรื่อง [[สตาร์ เบลเซอส์]] (Star Blazers) ที่มาตัตต่อโดยใช้เพลง "ออลยูนีดอิสเลิฟ (All You Need Is Love)" ของ[[เดอะบีเทิลส์]] ได้ทำขึ้นมาเพื่อให้ผลแบบตลกขนขัน
เอเอ็มวี ไม่ได้รวมกับมิวสิกวิดีโอของนักทำแอนิเมชันอย่างมืออาชีพ (เช่นมิวสิกวิดีโอหลายเพลงของวง [[ไอเอิร์นเมเดน]]) หรือภาพยนตร์มิวสิกวิดีโอเพลงสั้นๆ (เช่นศิลปินคู่ดูโอของญี่ปุ่น ชะเงะแอนด์อะซะกะ กับเพลง "On Your Mark" ที่ถูกผลิตโดย [[สตูดิโอจิบลิ]]) เอเอ็มวีอาจไม่ได้รวมกับแฟนเมดที่ใช้แอนนิเมชันทั่วไปที่ไม่ใช่การ์ตูนญี่ปุ่นแต่จะมีแหล่งของการ์ตูนตะวันตก หรือกับการปฏิบัติของ[[วิดดิง]] (Vidding) ในแฟนดอมแบบตะวันตก ซึ่งรวมกันการพัฒนาและมีประวัติศาสตร์ที่แตกต่างกันและวัฒนธรรมแฟน อนิเมะมิวสิกวิดีโอ เป็นแนวย่อยนอกเหนือจาก "แอนิเมดิดมิวสิกวิดีโอ" (animated music video) นอกจากยังขนานว่าสามารถถูกเขียนได้ระหว่าง เอเอ็มวี (AMV) และ ซองวิด (Songvid) ที่ไม่ใช่แอนิเมชันที่ทำโดยแฟนเมดโดยใช้ภาพจากภาพยนตร์ซีรีส์โทรทัศน์หรือจากแหล่งที่มาอื่นๆ
 
อนิเมะมิวสิกวิดีโอได้ถูกทำขึ้นครั้งแรกในปี 1982 โดย จิม คาโปสสตัซ (Jim Kaposztas) อายุ 21 ปี<ref>{{cite web |url=http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fo20071115pm.html |last=Macias |first=Patrick |authorlink=Patrick Macias |title=Remix this: anime gets hijacked |publisher=[[Japan Times]] |date=2007-11-15 |accessdate=2009-10-20}}</ref> ผู้ซึ่งติดทั้ง[[วีซีอาร์]] (เครื่องอัดวิดีโอ) และการตัดต่อที่กำลังใช้จากฉากของการ์ตูนเรื่อง [[สตาร์ เบลเซอส์]] (Star Blazers) ที่ใช้เพลง "ออลยูนีดอิสเลิฟ (All You Need Is Love)" ของ[[เดอะบีเทิลส์]] ได้ทำขึ้นมาเพื่อให้ผลแบบตลกขนขัน
หนึ่งในอนิเมะมิวสิกวิดีโอแรกๆที่ประสบความสำเร็จมาจากความนิยมของเพลง "Daytona 500" ในปี 1996 ของ[[นักร้อง]][[แร็ปเปอร์]]ชาว[[อเมริกัน]] [[โกสต์เฟซ คิลลาห์]] โดยใช้การ์ตูนเรื่อง [[สปีด เรซเซอร์]] ในยุค 1960 ซึ่งการ์ตูนเรื่องนั้นได้ถูกนำมาออกอากาศครั้งแรกในช่องโทรทัศน์ภาษาอังกฤษในปี 1968
 
== อ้างอิง ==