ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากูย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wayuwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ลบ ก๊อปวางจาก https://schoolonly.wordpress.com/วัฒนธรรมและภาษา/ด้านภาษา/
บรรทัด 54:
*หมายเหตุ การพูดต้องพูดย้ำๆ หลายครั้ง
 
“ภาษากูย”  เป็นภาษาพูดของกลุ่มชนเก่าแก่กลุ่มหนึ่งที่ยังใช้ภาษาพูด  และรักษาวัฒนธรรมของตนไว้อย่างเด่นชัด  แต่ไม่มีภาษาเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร  3  ศตวรรษก่อนคริสตกาล อารยธรรมอินเดียแผ่เข้าดินแดนสุวรรณภูมิรวมทั้งเขมรและอีสานใต้  ทำให้ภูมิภาคนี้ได้รับอารยธรรมอินเดียรวมทั้งอารยธรรมทางภาษาเขียนที่ใช้ภาษาปัลลวะ – สันสกฤต  และพัฒนามาเป็นภาษาขอม  ภาษาเขมร  ภาษาไทยในปัจจุบัน  ในขณะที่กลุ่มชนชาวกูย ( กวย )  ไม่ปรากฏว่ามีภาษาเขียน  นักประวัติศาสตร์ให้ข้อสังเกตว่า  ภาษากูยเป็นภาษาโบราณที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน  ไม่มีตัวอักษร  ชาวกูยส่วนมากเชี่ยวชาญทางการจับช้าง  การตีเหล็กหรือเป็นเผ่านักรบการเข้าป่าจับช้างก็ดี  การรบก็ดี  เป็นการเสี่ยงภัยทั้งสิ้น
 
“ภาษาผีปะกำ”   เป็นภาษาพิเศษของชนชาวกูยช้าง  ใช้สื่อสารกันเฉพาะระหว่างกำลวงพือหมอช้าง  และมะช้างกับเทพเจ้าผีปะกำและบริวารของผีปะกำอันได้แก่  เทวะด้า ( ช้างป่า )  และภูตผีปีศาจอื่นๆโดยจะใช้ภาษาผีปะกำในระหว่างการเดินทางไปคล้องช้าง  ซึ่งตามปกติเมื่ออยู่บเนจะใช้ภาษากูย  จากการรวบรวมภาษาผีปะกำของจังหวัดสุรินทร์  จำนวน  365  คำ  และการศึกษาเชิงเปรีบเทียบพบว่าตรงกับภาษาบาลี – สันสกฤต  ประมาณร้อยละ 20  ต่างกันเฉพาะสำเนียงร้อยละ  40 – 50  เป็นภาษาเขมรโบราณอีกร้อยละ  30  ยังหาที่มาไม่ได้  แต่ขออนุมานไว้ในภาษาเขมรโบราณ ( คนละอย่างกับภาษาขอมโบราณหรือภาษาเขมรปัจจุบัน  อาจหมายถึงภาษาเขมรและกูยที่ใช้ร่วมกันก่อนที่อารยธรรมอินเดียจะเข้ามาอิทธิพล )  ตัวอย่างเทียบระหว่างภาษาไทย  ภาษากูยทั่วไป  กับภาษาผีปะกำ
{| class="wikitable"
|+
เส้น 278 ⟶ 275:
|เหลียว
!ลาว
|}<br />
 
== อิทธิพลอิทธิพลคำบาลี, สันสฤต ต่อ ภาษากูย ==
{| class="wikitable"
|+<small>เปลี่ยนจาก สระอา เเทน สระเอีย</small>
เส้น 303 ⟶ 300:
 
== อ้างอิง ==
{{่รายการอ้างอิง}}
* สมทรง บุรุษพัฒน์. สารานุกรมชนชาติกูย. กทม. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2538
* Gordon, Raymond G., Jr. (ed.) , 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
* พระสมุทร ถาวรธมฺโม/ทาทอง ผศ.ดร.ประวัติศาสตร์กวย. กทม. ที่ระลึกงานฌาปนกิจศพคุณยายขบวน ชาญเชี่ยว วัดแสงสว่างราฆฎร์บำรุง อ.บัวเชด จ.สุรินทร์. 2551.
* https://schoolonly.wordpress.com/วัฒนธรรมและภาษา/ด้านภาษา/
{{รายการอ้างอิง}}https://schoolonly.wordpress.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2/%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2/
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==