ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 36:
ตามกฎมนเทียรบาลของราชวงศ์ญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 1947 ในราชวงศ์จะมีการเรียงลำดับโปเจียมจากสูงสูงไปต่ำสุด เช่น สมเด็จพระจักรพรรดิ ({{nhg2|天皇|tennō}}), สมเด็จพระจักรพรรดินี ({{nhg2|皇后|kōgō}}), [[สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง]] ({{nhg2|皇太后|kōtaigō}}), สมเด็จพระราชอัยยิกา ({{nhg2|太皇太后|tai-kōtaigō}}), มกุฎราชกุมาร ({{nhg2|皇太子|kōtaishi}})และมกุฎราชกุมารี ({{nhg2|皇太子妃|kōtaishihi}}) เป็นต้น
 
หลังการล้มล้างพระบรมวงศานุวงศ์ 11 สาขา เพื่อความอยู่รอดของราชวงศ์ในปี [[ค.ศ. 1947]] ทำให้มีการสืบราชสมบัติในสายของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช]] เฉพาะฝ่ายหน้า (พระบรมวงศานุวงศ์ชาย) และลูกหลานที่เป็นชายเท่านั้น แต่ส่วนของฝ่ายใน (พระบรมวงศานุวงศ์หญิง) จะไม่มีสิทธิในการสืบราชสมบัติทั้งที่ไม่สมรสหรือสมรสแล้วรวมไปถึงลูกหลานที่เกิดจากฝ่ายในก็ไม่มีสิทธิในการสืบราชสมบัติเช่นเดียวกัน
 
===รายพระนามพระบรมวงศานุวงศ์===