ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮัจญ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adilassalafy (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนจากการสร้างบัยตุลลอฮฺ เป็น ทำนุบำรุง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{อิสลาม}}
 
'''การประกอบพิธีฮัจญ์''' หรือ การ'''ทำฮัจญ์'''หัจญ์ [[ภาษามลายูปัตตานี]]เรียก '''บูวะฮายี'''<ref> แพร ศิริศักดิ์ดำเกิง. ''ทักษะวัฒนธรรม''. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2552, หน้า 52</ref> คือการเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจที่[[นครมักกะหฺVN]]ในเดือน[[ซุลฮิจญะหฺซุลฮิจญะฮ์]] ตามวันเวลา และสถานที่ต่าง ๆ ที่ทางศาสนาอิสลามกำหนดไว้ ซึ่งศาสนกิจข้อนี้เป็นหน้าที่สำหรับมุสลิมทั้งชายและหญิง ทุกคนที่มีความสามารถในด้านร่างกาย ทรัพย์สิน และการเดินทาง ที่จะต้องปฏิบัติ
 
ในช่วงฮัจญ์ ชาวมุสลิมทั่วโลกจะเดินทางเข้าสู่อาระเบีย โดยก่อนอื่นจะมีการทำ อิหฺรอม นั่นคือการตั้งใจว่าจะทำพิธีฮัจญ์ ก่อนการเข้าไปใน[[แผ่นดินหะรอม]] (แผ่นดินต้องห้าม) โดยจะปฏิบัติตามกฎของหัจญ์ อาทิเช่น การไม่สมสู่ การไม่ล่าสัตว์ในแผ่นดินหะรอม การไม่ตัดเล็บหรือผม การไม่เสริมสวยหรือใช้[[น้ำหอม]] ผู้ชายจะเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย มาสวมผ้าเพียงสองผืน แล้วต่างก็จะมาชุมนุมกันที่ ทุ่งอะร็อฟะหฺ ในตอนเช้าตรู่ของวันที่เก้าของเดือนซุลฮิจญะหฺซุลฮิจญะฮ์
 
แล้วพอตกค่ำ ซึ่งตาม[[ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]จะเป็นคืนที่สิบ เหล่านักแสวงบุญจะเดินทางผ่าน ทุ่ง[[มุซดะลิฟะหฺ]] พักชั่วครู่หนึ่งก่อนที่จะมุ่งหน้าสู่ ทุ่ง[[มีนา]] ก่อนเที่ยงของวันต่อไป
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฮัจญ์"