ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพุทธรูป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 10:
 
คราวแรกนั้นชาวพุทธก็ได้แต่นำเอาสิ่งของอันได้แก่ ดิน น้ำ และกิ่ง ก้าน ใบโพธิ์ จากบริเวณสังเวชนียสถาน 4 แห่ง คือ สถานที่ประสูติ ([[ลุมพินีวัน]]), ตรัสรู้ ([[พุทธคยา]]), ปฐมเทศนา ([[สารนาถ]]) และปรินิพพาน ([[กุสินารา]]) เก็บมาไว้เป็นที่ระลึกบูชาคุณพระพุทธเจ้า
ล่วงมาถึงในสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]] พุทธศาสนูปถัมภกที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่ง เมื่อ 2,200 ปีก่อน หรือหลังจากการดับขันธ์ของพระพุทธเจ้ามา 300 ปี พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ทรงส่งสมณะทูต จำนวน 500 รูป ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเมืองตักกศิลา แคว้นคันธารราฐ จึงมีชื่อเสียงในฐานะเป็นเมืองที่ประสิทธิประสาทวิทยาการต่าง ๆ นับว่า "เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกทางพระพุทธศาสนา" แต่ก็ยังไม่มีรูปเคารพแทนพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปคน
 
ล่วงมาถึงในสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]] พุทธศาสนูปถัมภกที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่ง เมื่อ 2,200 ปีก่อน หรือหลังจากการดับขันธ์ของพระพุทธเจ้ามา 300 ปี พระเจ้าอโศกมหาราช ได้ทรงส่งสมณะทูต จำนวน 500 รูป ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเมืองตักกศิลา แคว้นคันธารราฐ จึงมีชื่อเสียงในฐานะเป็นเมืองที่ประสิทธิประสาทวิทยาการต่าง ๆ นับว่า "เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกทางพระพุทธศาสนา" แต่ก็ยังไม่มีรูปเคารพแทนพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปคน
พระพุทธรูป หรือ รูปเคารพแทนพระพุทธเจ้า ในตำนานเรื่องพระแก่นจันทน์ได้พรรณาเรื่องพระพุทธรูปองค์แรกไว้ว่า ครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จจำพรรษาเพื่อโปรดพุทธมารดา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้น พระเจ้าปเสนทิโกศล กษัตริย์แห่งเมืองสาวัตถี ทรงรำลึกถึงพระพุทธองค์เป็นอย่างมาก จึงโปรดฯให้ช่างหาไม้แก่นจันทน์หอมที่ดีที่สุด มาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปอันงดงาม มีพุทธลักษณะคล้ายพระพุทธองค์ แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานยังพระราชมณเฑียร
 
พระพุทธรูป หรือ รูปเคารพแทนพระพุทธเจ้า ในตำนานเรื่องพระแก่นจันทน์ได้พรรณาเรื่องพระพุทธรูปองค์แรกไว้ว่า ครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จจำพรรษาเพื่อโปรดพุทธมารดา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์นั้น พระเจ้าปเสนทิโกศล กษัตริย์แห่งเมืองสาวัตถี ทรงรำลึกถึงพระพุทธองค์เป็นอย่างมาก จึงโปรดฯให้ช่างหาไม้แก่นจันทน์หอมที่ดีที่สุด มาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปอันงดงาม มีพุทธลักษณะคล้ายพระพุทธองค์ แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานยังพระราชมณเฑียร
 
เมื่อพระบรมศาสดาเสด็จกลับจากดาวดึงส์ และเสด็จมายังเมืองสาวัตถี พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงทูลอาราธนาให้เสด็จทอดพระเนตรพระพุทธรูปองค์ดังกล่าว ครั้นพระพุทธองค์เสด็จไปถึง พระพุทธรูปไม้แก่นจันทน์ได้ขยับองค์จากพระแท่นที่ประดิษฐาน เพื่อถวายความเคารพพระศาสดา ครานั้นพระพุทธองค์จึงทรงยกพระหัตถ์ซ้ายขึ้นห้าม พระไม้แก่นจันทน์จึงกลับไปประทับยังพระแท่นที่เดิม พระเจ้าปเสนทิโกศลเห็นเช่นนั้นก็ยิ่งเกิดความเลื่อมใสศรัทธา แต่ตำนานนั้นถือว่ายังไม่สามารถหาหลักฐานได้
 
ส่วนการสร้างพระพุทธรูปจริง ๆ นั้นเริ่มมีการสร้างขึ้นมาตั้งแต่ระหว่าง [[พ.ศ. 500]] ถึง [[พ.ศ. 550|550]] เมื่อชาว[[กรีก]] ที่ชาว[[ชมพูทวีป]] (อินเดียโบราณ) เรียกชาวต่างแดนว่า "โยนา" หรือ "โยนก" โดยพระเจ้าเมนันเดอร์ที่ 1 หรือ [[พระยาพระเจ้ามิลินท์]] กษัตริย์เชื้อสาย[[กรีก]] ยกทัพกรีกเข้ามาครอบครองแคว้นคันธารราฐ (ปัจจุบันเป็นดินแดนของ[[อัฟกานิสถาน]]) จากนั้นพระองค์ก็แผ่อาณาเขตไปทั่วบริเวณด้านตะวันตกเฉียงเหนือของชมพูทวีป และสร้างเมืองหลวงเป็นที่ประทับ ณ เมืองสากล หลังจากที่ได้พบพระสงฆ์ท่านหนึ่งนามว่า นาคเสน จึงมีเรื่องราวแห่งการตั้งคำถามของพระเจ้ามิลินท์ต่อพระนาคเสน จนทำพระเจ้ามิลินท์ ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา (คำถามคำตอบปุจฉาวิสัชนา ซึ่งถูกเขียนบันทึกเป็นหนังสือและแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ที่มีชื่อเสียงมาก เรื่องนี้ก็คือ [[มิลินทปัญหา]]ได้มีการสร้างสถาปัตยกรรม และประติมากรรมทางพุทธศาสนามากมายในแคว้นคันธารราฐ ซึ่งการสร้างพระพุทธรูปนั้นมีลักษณะต่าง ๆ ตามพุทธประวัติ ([[ปางพระพุทธรูป]])
 
พระพุทธรูปรูปแรกจึงเกิดขึ้นในสมัยของพระเจ้ามิลินท์ หรือเมนันเดอร์ที่ 1 ชาวกรีกที่มาครอบครองแคว้นคันธารราฐ เมื่อประมาณ[[พุทธศตวรรษที่ 6]] หรือ 2,000 ปีที่แล้วนั่นเอง พระพุทธรูปที่เกิดขึ้นครั้งแรกจึงเรียกรูปแบบของพระพุทธรูปนี้ว่า แบบ[[คันธารราฐ]] โดยถ่ายแบบอย่างเทวรูปที่พวกชาวกรีกนับถือกันใน[[ยุโรป]]มาสร้าง พระพุทธรูปแบบคันธารราฐจึงมีใบหน้าเหมือนฝรั่งชาวกรีก จีวรก็เป็นริ้วเหมือนเครื่องนุ่งห่มของ[[เทวรูป]]กรีก และต่อมาในภายหลัง ราวพุทธศตวรรษ ที่ 4-12 มีคตินิยมสร้างพระพุทธรูปเป็นขนาดเล็ก ๆ ([[พระเครื่อง]]) บรรจุไว้ในพุทธเจดีย์
 
== ตำแหน่งของการปิดทองพระพุทธรูป ==
ชาวพุทธต่างพากันบูชาพระรัตนตรัย ชาวพุทธ มีความเชื่อที่ว่าการปิดทอง[[พระพุทธรูป]] ถือเป็นบุญบารมีมหาศาล ที่จะทำให้ผู้ที่ปิด ได้[[อานิสงส์]]ผล[[บุญ]] ส่งผลให้บังเกิดสิ่งดี ๆ เข้ามาในชีวิต และสิ่งที่หลายท่านอาจยังไม่ทราบคือ การปิดทองในตำแหน่งต่าง ๆ ของ[[พระพุทธรูป]] จะส่งอานิสงส์ผลบุญในด้านที่แตกต่างกันด้วย
 
* ปิดทองบริเวณเศียรพระ (หัว) จะมีสติ[[ปัญญา]]แหลมคม จดจำสิ่งต่าง ๆ ได้ดี
บรรทัด 31:
* ปิดทองบริเวณพระบาท ([[เท้า]]) จะมีความเป็นอยู่ที่ดี มี[[ยานพาหนะ]]ที่ดี<ref>[http://www.goldpriceth.com/pid-thong/ การปิดทองพระ]</ref>
 
==พระพุทธรูปปางต่างๆต่าง ๆ==
{{บน}}
* [[ปางสมาธิ]] (ขัดสมาธิราบ ปางตรัสรู้) และ [[ปางขัดสมาธิเพชร]]
* [[ปางมารวิชัย]]
* [[ปางหมอยา]]
* [[ปางปฐมเทศนา]]
* [[ปางอุ้มบาตร]]
* [[ปางประทานอภัย]]
* [[ปางประทานพร]]
* [[ปางปาฏิหาริย์]]
* [[ปางลีลา]]
* [[ปางปรินิพพาน]]
* [[ปางนาคปรก]]
* [[ปางประสูติ]]
* [[ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์]]
* [[ปางทรงทรมานช้างนาฬาคิรี]]
* [[ปางทรงทรมานพระยาวานร]]
* [[ปางเปิดโลก]]
* [[ปางทรมานพระยามหาชมพู]] (พระทรงเครื่อง)
* [[ปางทรงตัดเมาลี]]
* [[ปางทรงรับมธุปายาส]]
* [[ปางลอยถาด]]
* [[ปางถวายเนตร]]
* [[ปางเรือนแก้ว]]
* [[ปางประสานบาตร]]
* [[ปางพระเกศธาตุ]]
* [[ปางภัตตกิจ]]
* [[ปางชี้อัครสาวก]]
* [[ปางทรงรับผลมะม่วง]]
* [[ปางมหาภิเนษกรมณ์]]
* [[ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา]]
* [[ปางเสวยมธุปายาส]]
* [[ปางทรงรับหญ้าคา]]
* [[ปางจงกรมแก้ว]]
* [[ปางห้ามมาร]]
* [[ปางฉันสมอ]]
* [[ปางชี้มาร]]
* [[ปางชี้อสุภะ]]
* [[ปางปฐมบัญญัติ]]
{{กลาง}}
* [[ปางรับสัตตูก้อนสัตตูผง]]
* [[ปางรำพึง]]
* [[ปางป่าเลไลย]]
* [[ปางทรงพระสุบิน]]
* [[ปางประทานเอหิภิกขุ]]
* [[ปางห้ามสมุทร]]
* [[ปางห้ามญาติ]]
* [[ปางประทับเรือขนาน]]
* [[ปางแสดงยมกปาฎิหารย์]]
* [[ปางห้ามพระแก่นจันทร์]]
* [[ปางสรงน้ำฝน]]
* [[ปางโปรดสัตว์]]
* [[ปางสนเข็ม]]
* [[ปางประดิษฐานรอยพระพุทธบาท]]
* [[ปางทรงพิจารณาชราธรรม]]
* [[ปางแสดงโอฬาริกนิมิต]]
* [[ปางทรงรับอุทกัง]]
* [[ปางขับพระวักกลิ]]
* [[ปางนาคาวโลก]]
* [[ปางปลงอายุสังขาร]]
* [[ปางทรงจีวร]]
* [[ปางห้ามพยาธิ]]
* [[ปางโปรดพุทธบิดา]]
* [[ปางโปรดพุทธมารดา]]
* [[ปางปัจเจกขณะ]]
* [[ปางแสดงโอวาทปาฏิโมกข์]]
* [[ปางโปรดองคุลีมาโจร]]
* [[ปางทรงพยากรณ์]]
* [[ปางประทานธรรม]]
* [[ปางโปรดอสุรินทราหู]]
* [[ปางโปรดพกาพรหรม]]
* [[ปางโปรดสุภัททปริพาชก]]
* [[ปางโปรดอาฬาวกยักษ์]]
* [[ปางขอฝน]]
* [[ปางปลงกรรมฐาน]] หรือ ปางชักผ้าบังสุกุล
* [[ปางอธิษฐานเพศบรรพชิต]]
{{ล่าง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[รายชื่อพระพุทธรูปสำคัญในประเทศไทย]]
[[ปางขอฝน]]
 
[[ปางขัดสมาธิเพชร]]
 
[[ปางขับพระวักกลิ]]
 
[[ปางจงกรมแก้ว]]
 
[[ปางฉันสมอ]]
 
[[ปางชี้มาร]]
 
[[ปางชี้อสุภะ]]
 
[[ปางชี้อัครสาวก]]
 
[[ปางถวายเนตร]]
 
ปางทรงรับผลมะม่วง
 
ปางทรงรับหญ้าคา
 
ปางทรงจีวร
 
ปางทรงตัดเมาลี
 
ปางทรงทรมานช้างนาฬาคิรี
 
ปางทรงทรมานพระยาวานร
 
ปางทรงพยากรณ์
 
ปางทรงพระสุบิน
 
ปางทรงพิจารณาชราธรรม
 
ปางทรงรับมธุปายาส
 
ปางทรงรับอุทกัง
 
ปางทรมานพระยามหาชมพู
 
ปางนาคาวโลก
 
ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา
 
ปางโปรดพกาพรหม
 
ปางปฐมเทศนา
 
ปางปฐมบัญญัติ
 
ปางเปิดโลก
 
ปางประทานเอหิภิกขุ
 
ปางประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
 
ปางประทานธรรม
 
ปางประทานพร
 
ปางประสานบาตร
 
ปางประสูติ
 
ปางปรินิพพาน
 
ปางปลงกรรมฐาน
 
ปางปลงอายุสังขาร
 
ปางปัจเจกขณะ
 
ปางนาคปรก
 
ปางประทับเรือขนาน
 
ปางปาลิไลยก์
 
ปางโปรดองคุลีมาลโจร
 
ปางโปรดอาฬาวกยักษ์
 
ปางปาฏิหาริย์
 
ปางโปรดพุทธบิดา
 
ปางโปรดพุทธมารดา
 
ปางโปรดสัตว์
 
ปางโปรดสุภัททปริพาชก
 
ปางโปรดอสุรินทราหู
 
ปางพระเกศธาตุ
 
ปางภัตตกิจ
 
ปางมหาภิเนษกรมณ์
 
ปางมารวิชัย
 
ปางรับสัตตูก้อนสัตตูผง
 
ปางรำพึง
 
ปางเรือนแก้ว
 
ปางลอยถาด
 
ปางลีลา
 
ปางสรงน้ำฝน
 
ปางสนเข็ม
 
ปางสมาธิ
 
ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์
 
ปางเสวยมธุปายาส
 
ปางแสดงยมกปาฏิหาริย์
 
ปางแสดงโอวาทปาฏิโมกข์
 
ปางแสดงโอฬาริกนิมิต
 
ปางหมอยา
 
ปางห้ามญาติ
 
ปางห้ามพยาธิ
 
ปางห้ามพระแก่นจันทน์
 
ปางห้ามมาร
 
ปางห้ามสมุทร
 
ปางอธิษฐานเพศบรรพชิต
 
ปางอุ้มบาตร
 
== อ้างอิง ==
* http://www.manager.co.th/Dhamma/ViewNews.aspx?NewsID=9510000130802
{{รายการอ้างอิง}}
[http://baanmordoo.com/ประวัติพระเครื่องเบญจภ/ พระเครื่องเบญจภาคี]
 
== ดูเพิ่ม ==
*
* [[รายชื่อพระพุทธรูปสำคัญในประเทศไทย]]
 
 
[[หมวดหมู่:พระพุทธรูป| ]]
[[หมวดหมู่:พุทธศิลป์และวัฒนธรรม]]
{{โครงพุทธ}}
 
<!-- The below are interlanguage links. -->