ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวลสารระหว่างดาวฤกษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8018069 สร้างโดย 2403:6200:8822:34A2:2DC0:1965:D3DC:F010 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:WHAM survey.png|thumb|การกระจายตัวของประจุไฮโดรเจน ซึ่งนักดาราศาสตร์เรียกว่า เอชทู ในช่องว่างระหว่างดาราจักร ที่สังเกตการณ์จากซีกโลกด้านเหนือผ่าน Wisconsin Hα Mapper]]
 
'''มวลสารระหว่างดาว''' ({{lang-en|interstellar medium}}; ISM) ในทาง[[ดาราศาสตร์]]หมายถึงกลุ่ม[[แก๊ส]]และฝุ่นที่กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ว่างระหว่างดวงดาว เป็นสสารที่ดำรงอยู่ระหว่าง[[ดาวฤกษ์]]ต่างๆต่าง ๆ ใน[[ดาราจักร]] เติมเติมช่องว่างระหว่างดวงดาวและผสานต่อเนื่องกับช่องว่างระหว่างดาราจักรที่อยู่โดยรอบ การแผ่[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]เป็นพลังงานของสสารมีปริมาณเท่ากันกับสนามการแผ่รังสีระหว่างดวงดาว
 
มวลสารระหว่างดาวประกอบด้วยองค์ประกอบอันเจือจางอย่างมากของ[[ไอออน]] [[อะตอม]] [[โมเลกุล]] ฝุ่นขนาดใหญ่ [[รังสีคอสมิก]] และ[[สนามแม่เหล็ก]]ของดาราจักร<ref>Spitzer, L. (1978), ''Physical Processes in the Interstellar Medium'', Wiley, ISBN 0-471-29335-0</ref> โดยที่ 99% ของมวลของสสารเป็นแก๊ส และอีก 1% เป็นฝุ่น มีความหนาแน่นเฉลี่ยใน[[ดาราจักรทางช้างเผือก]] ระหว่างไม่กี่พันจนถึงหลักร้อยล้านหน่วยอนุภาคต่อลูกบาศก์เมตร ประมาณ 90% ของแก๊สเป็น[[ไฮโดรเจน]] ส่วนอีกประมาณ 10% เป็น[[ฮีเลียม]] เมื่อพิจารณาตามจำนวนของนิวเคลียส โดยมีสสารมวลหนักผสมอยู่บ้างเล็กน้อย
 
มวลสารระหว่างดาวมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการศึกษา[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]] เนื่องจากมันอยู่ในระหว่างกลางของเหล่าดวงดาวในดาราจักร ดาวฤกษ์ใหม่จะเกิดขึ้นจากย่านที่หนาแน่นที่สุดของสสารนี้กับ[[เมฆโมเลกุล]] โดยได้รับสสารและพลังงานมาจาก[[เนบิวลาดาวเคราะห์]] [[ลมสุริยะ|ลมระหว่างดาว]] และ[[ซูเปอร์โนวา]] ความสัมพันธ์ระหว่างดาวฤกษ์กับมวลสารระหว่างดาวช่วยให้นักดาราศาสตร์สามารถคำนวณอัตราการสูญเสียแก๊สของดาราจักร และสามารถคาดการณ์ช่วงเวลาการก่อตัวของดาวฤกษ์กัมมันต์ได้
 
 
 
<br />
 
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{โครงดาราศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:เคมีดาราศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:อวกาศ]]
{{โครงดาราศาสตร์}}