ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
พ.ศ. 2537 เปิดตัวบริษัท ''[[อาร์.เอส.ฟิล์ม]]'' ผลิตภาพยนตร์เรื่องแรก ''[[โลกทั้งใบให้นายคนเดียว]]'' เข้าฉายในปี 2538 ต่อมา พ.ศ. 2540 เปิดตัวบริษัท ชาโดว์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัดในช่วงต้นปีและบริษัท เมจิคแอ็ดเวอร์เทนเม้นท์ จำกัดในช่วงกลางปี โดยเริ่มต้นด้วยรายการเกมส์โชว์ มีรายการ เช่น “Shock Game” และตามมาด้วยรายการประเภทอื่นๆ อีกมากมาย อาทิ รายการวาไรตี้, รายการเพลง , มิวสิควิดีโอและรวมทั้งละครโทรทัศน์อีกด้วย ปี พ.ศ. 2542 บริษัทฯ จัดตั้งบริษัท สกาย-ไฮเน็ตเวิร์ก จำกัด และเข้าทำธุรกิจสื่อวิทยุ ผลิตรายการและบริหารคลื่นวิทยุในเครือ 2 คลื่นคือ 98 Cool FM คลื่นเพลง บริษัทฯได้มีการปรับโครงสร้างการบริหารงานภายในองค์กร แยกกิจกรรมออกเป็นหน่วยธุรกิจ
 
อาร์เอสจัดตั้ง บริษัท [[อาร์ สยาม]] จำกัด เพื่อผลิต[[เพลงลูกทุ่ง]]และ[[เพลงเพื่อชีวิต]] มีศิลปินที่เป็นที่รู้จัก เช่น [[หนู มิเตอร์]], [[บ่าววี]], [[หลวงไก่]], [[โปงลางสะออน]], [[กระแต อาร์สยาม]], [[ใบเตย อาร์สยาม]], [[จินตหรา พูนลาภ]] เป็นต้น<ref name="marketingoops"/>
 
===บริษัทจำกัดมหาชน===
อาร์เอสได้นำบริษัทเข้าจดทะเบียนใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] ภายใต้ชื่อย่อ “RS”RS เมื่อปี พ.ศ. 2546 ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น ''บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) '' เมื่อปี ''บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) '' บริษัทเติบโต 81% ซึ่งผลประกอบการดังกล่าวมาจากการออกอัลบั้มใหม่ถึง 78 อัลบั้ม และมีอัลบั้มรวมฮิตอีก 181 อัลบั้ม ทั้งปีขายสินค้าเพลงได้ถึง 8 ล้านแผ่น<ref name="marketingoops"/> ในปีถัดมา ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างในการดำเนินธุรกิจใหม่ โดยมีธุรกิจหลัก 2 กลุ่มใหญ่ๆใหญ่ ๆ คือ Entertainment & Sport Content Provider และ Media Service แต่นับจากปี 2547 รายได้การขายซีดีและดีวีดีลดลง เนื่องจากปัญหาเทปผีซีดีเถือน บริษัทยึงปรับกลยุทธ์ในการทำงานเพลง จนในปี 2550 เปิดค่ายเพลงเพื่อเจาะตลาดวัยรุ่นที่ชื่อ [[กามิกาเซ่]] ซึ่งรุ่นแรกประกอบด้วย 22 ศิลปินวัยรุ่นชื่อดังในยุคนั้น เช่น [[โฟร์-มด]], [[กุลมาศ สารสาส|ขนมจีน]], [[เฟย์ ฟาง แก้ว]] เป็นต้น<ref name="marketingoops"/>​
 
 
พ.ศ. 2551 บริษัทฯเข้าลงทุน 65 เปอร์เซ็นต์ ในบริษัท อาร์เอส อินสโตร์ มีเดีย จำกัด เพื่อดำเนินธุรกิจสื่อในห้างโมเดิร์นเทรด ซึ่งเป็นสื่อวิทยุกระจายเสียง และสื่อทีวีในห้างโมเดิร์นเทรด บริษัทฯเข้าลงทุนในบริษัท ย๊าค จำกัด เพื่อดำเนินธุรกิจรายการทีวีที่เจาะกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่น ประกอบด้วย รายการทีนพลัสโชว์ รายการกามิกาเซ่คลับ รายการทูไนท์ไลฟ์ และละครวัยรุ่น Daddy Duo บริษัทฯบริษัทเปิดตัวสนามฟุตบอล S-One ณ ถนนบางนา-ตราด กม.4 เพื่อดำเนินธุรกิจบริการให้เช่าสนามฟุตบอลหญ้าเทียม สำหรับการแข่งขันฟุตบอล 7 คน และให้เช่าสถานที่เพื่อทำกิจกรรมทางการตลาดของบริษัท ห้างร้านต่างๆ บริษัทฯได้รับลิขสิทธิ์เป็นผู้ดูแลการถ่ายทอดสดการแข่งขัน[[ฟุตบอลยูโร 2008]]
 
พ.ศ. 2552 อาร์เอส เปิดช่องดาวเทียม 2 ช่อง ได้แก่ "[[YOU Channel]]" และช่อง "[[สบายดี ทีวี]]" ในปี พ.ศ. 2553 ปรับปรุงเว็บไซต์ "pleng.com" ใหม่ และบริษัทเป็นผู้บริหารสิทธิ์การถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 FIFA World Cup South Africa ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน - 11 กรกฎาคม 2553 ออกอากาศทางช่อง3 ช่อง7 ช่อง9 และ NBT บริษัทฯได้ขยายตัวในธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียมเพิ่มอีก 2 ช่อง ได้แก่ ช่อง 8 และ ช่อง Yaak TV ในปี พ.ศ. 2554 นอกจากนี้ ยังได้เป็นผู้บริหารสิทธิ์การถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลลาลิกา สเปน ในปี 2012 - 2015
เส้น 63 ⟶ 64:
 
===ธุรกิจเพลง===
ปัจจุบันธุรกิจเพลงของอาร์เอส มีรายได้จากงานอีเวนต์และโชว์บิซของศิลปินในสังกัด โดยขายงานแสดง งานโชว์ เป็นพรีเซนเตอร์ให้กับผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์เพลงในรูปแบบต่าง ๆ ผ่านทางระบบดิจิทัล ทั้งการฟังเพลงในรูปแบบออนไลน์สตรีมมิง อาทิ [[จูกซ์]] [[สปอติฟาย]] เป็นต้น รวมถึงการฟังเพลงดูมิวสิกวิดีโอผ่าน ยูทูบ ไลน์ทีวี หรือให้บริการดาวน์โหลดเพลง ดาวน์โหลดเสียงเรียกเข้าผ่านโทรศัพท์ เสียงรอสายผ่านเครือข่ายของระบบุโทรศัพท์เคลื่อนที่ ดาวน์โหลดเพลงผ่านช่องทางอย่าง ไอจูนส์ หรือผ่ำนเครือข่ายของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (WAP) และบริษัทยังมีรายได้จากกากรจัดเก็บลิขสิทธิ์เพลง ภายใต้บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จำกัด<ref name="รายงานประจำปี 2561"/> ค่ายเพลงในปี 2562 ของอาร์เอส เหลืออยู่ค่ายเดียวคือ [[อาร์สยาม]]<ref name="marketingoops">{{cite news|url=https://www.marketingoops.com/exclusive/business-case/rs-transformation/|title=กาลครั้งหนึ่ง RS เบอร์ 2 ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่เมืองไทย กับวันนี้สู่ “ธุรกิจ คอมเมิร์ซ”|work=marketingoops|date=18 มีนาคม 2562|access-date=2 กันยายน 2562}}</ref>
 
==ดูเพิ่ม==