ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาโนเทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
ริชาร์ด ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับว่า เป็นคนแรกที่แสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และแนวโน้มของนาโนเทคโนโลยี ในการบรรยายเรื่อง “There’s plenty of room at the bottom” ที่[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]] เมื่อปี ค.ศ. 1959 ([[พ.ศ. 2502]]) โดยการแสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และโอกาสของประโยชน์ที่จะได้จากการจัดการในระดับ[[อะตอม]]
 
ปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ศาสตราจารย์ [[โนริโอะ ทานิกูชิ|โนริโอะ ทะนิงุชิงูจิ]] (Norio Taniguchi) แห่ง[[มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์โตเกียว]]เป็นคนแรกที่เริ่มใช้คำว่า “Nanotechnology” <ref> N. Taniguchi, "On the Basic Concept of 'Nano-Technology'," Proc. Intl. Conf. Prod. Eng. Tokyo, Part II, Japan Society of Precision Engineering, 1974 </ref>
 
== ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยี ==
บรรทัด 20:
# สามารถเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างพอเพียงกับประชากรโลก
# เพิ่มศักยภาพในการติดต่อสื่อสารของผู้คนทั้งโลกอย่างทั่วถึง ทัดเทียม และพอเพียง
# สร้างหุ่นยนต์นาโนที่สามารถซ่อมแซมความบกพร่องของเซลล์เม็ดเลือดแดง คอยทำลายเซลล์แปลกปลอมต่างๆต่าง ๆ
# มีความสามารถในการประกอบตัวเอง และทำสำเนาตัวเอง
# การใช้เทคโนโลยีในเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ
บรรทัด 51:
== ตัวอย่างผลงานจากนาโนเทคโนโลยี ==
* [[คอนกรีต]]ชนิดหนึ่งใช้เทคโนโลยีนาโน ใช้ Biochemical ทำปฏิกิริยาย่อยสลายกับมลภาวะที่เกิดจากรถยนต์ เช่น ไนโตรเจนไดออกไซด์ ใน[[ประเทศอังกฤษ]]ได้เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีนี้ในการสร้างถนนและอุโมงค์ต่างๆ เพื่อลดมลภาวะบนท้องถนน และขณะเดียวกันเทคโนโลยีนาโน ทำให้อนุภาคคอนกรีตมีขนาดเล็กมาก ฝุ่น และ[[แบคทีเรีย]] ไม่สามารถฝังตัวในเนื้อคอนกรีตได้ ทำให้[[อาคาร]]ที่ใช้คอนกรีตชนิดนี้ ดูใหม่เสมอ และยังคงไม่สะสมเชื้อโรค
* เสื้อนาโน ด้วยการฝัง อนุภาคนาโนเงิน (silver nanoparticle) ทำให้เกิดปฏิกิริยากับการเจริญเติบโตของ[[แบคทีเรีย]] หรือการใช้อนุภาคสังกะสีออกไซด์ระดับนาโนเมตรที่สามารถทำงานได้เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงที่ตามองเห็น หรือแสงขาวมากเคลือบเส้นใยหรือสิ่งทอ ทำให้เกิดอนุมูลอิสระที่สามารถกำจัดสารอินทรีย์ต่างๆ โดยการแตกสลายตัว ทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์และลดกลิ่นอับที่เกิดขึ้นได้ โดยมีการนำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อนาโนหลายรูปแบบ เช่น เสื้อกีฬานาโนยับยั้งเชิ้อจุลินทรีย์และกลิ่น
* ไม้เทนนิสนาโน ผสม [[ท่อคาร์บอนนาโน]] เป็น''ตัวเสริมแรง'' '''(Reinforcedreinforced)''' ทำให้แข็งแรงขึ้น (อ่าน [[วัสดุผสม]])
* ชุดนักเรียนปลอดเชื้อและกลิ่น อันเป็นความร่วมมือระหว่างนักวิจัย [[สวทช.]] กับบริษัท สยามชุดนักเรียน จำกัด ในการพัฒนา[[เทคโนโลยีการเคลือบผ้า]]ด้วยอนุภาค[[ไทเทเนียมไดออกไซด์]] ซึ่งใช้แสงเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาย่อยสลาย หรือที่เรียกว่า [[โฟโตแคตลิสต์]] (photocatalyst) โดยไทเทเนียมไดออกไซด์ที่โดนกระตุ้นด้วยแสงยูวี จะเกิดการแตกตัวและทำปฏิกิริยากับน้ำ จนได้เป็น[[อนุมูลอิสระ]]ซึ่งจะสามารถไปย่อยสลายโปรตีนหรือสารเคมีต่างๆ จนทำให้เชื้อแบคทีเรียและกลิ่นอับหมดไป จึงมีการนำเทคโนโลยีการเคลือบผ้าด้วยอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์นี้ไปใช้กับกระบวนการผลิตชุดนักเรียนต่อไป