ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคคอมมิวนิสต์พม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| chairman =
| secretary_general = Yèbaw Kyin Maung<ref>[http://www.cp-burma.org/ CPB Official Website]</ref>
| logo =
| logo = [[Communist Party of Burma logo.png]]
| logo_size = 100px
| founded = {{start date|df=yes|1939|08|15}}
| headquarters = [[ปางคำ|ปางซาง]] (จนถึงปี ค.ศ. 1989)
| website = {{Official URL}}
| ideology = [[ลัทธิคอมมิวนิสต์]]<br>{{nowrap|[[Marxism–Leninism–Maoism]]<ref name="Smith">{{cite book|last1=Smith|first1=Martin|title=Burma: Insurgency and the politics of ethnicity|date=1991|publisher=Zed Books|location=London and New Jersey|isbn=0862328683|edition=2. impr.|url=https://books.google.ca/books?id=s4NuAAAAMAAJ}}{{page needed|date=January 2017}}</ref>}}
บรรทัด 23:
 
== กำเนิด ==
 
พรรคคอมมิวนิสต์พม่ากำเนิดขึ้นพร้อมกับการตั้ง[[ขบวนการตะคีน]]ของชาวพม่าวัยหนุ่มสาวที่นิยมลัทธิสังคมนิยม ผู้นำของตะคีน เช่น [[อู้นุ|ตะคีนนุ]] [[ตะคีนโซ่]] และ[[ต้านทู่น|ตะคีนต้านทู่น]]ได้ตั้งสำนักพิมพ์นากะนี (นาคแดง) เพื่อจำหน่ายหนังสือเกี่ยวกับสังคมนิยม พ.ศ. 2478 กลุ่มตะคีนได้จัดตั้ง[[สมาคมเราชาวพม่า]]เพื่อเป็นศูนย์รวมในการเรียกร้องเอกราช ทั้งการเดินขบวน และการนัดหยุดงาน จน พ.ศ. 2482 [[อองซาน]] โซ่ และโกซานจึงจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์พม่าโดยอองซานเป็นเลขาธิการคนแรก
 
เส้น 29 ⟶ 28:
 
== สงครามโลกครั้งที่ 2 ==
 
เมื่อญี่ปุ่นเข้ายึดครองพม่าและขับไล่อังกฤษออกไปเมื่อ พ.ศ. 2485 ตะคีนบางส่วนเช่น อองซาน นุ ต้านทู่น ทำงานร่วมกับญี่ปุ่นแต่พรรคคอมมิวนิสต์พม่ายังคงต่อต้านญี่ปุ่นต่อไป ภายหลังเมื่อพวกตะคีนแน่ใจว่าญี่ปุ่นไม่ได้จริงใจกับการให้เอกราชแก่พม่า จึงมารวมตัวกันในนามของสันนิบาตเสรีชนฯ โดยพรรคคอมมิวนิสต์พม่าเข้าสังกัดองค์การนี้ และมีส่วนร่วมในการต่อสู้กับญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2488 ด้วย
 
เส้น 35 ⟶ 33:
 
== การปฏิวัติ ==
 
พรรคคอมมิวนิสต์พม่าเปลี่ยนแปลงการต่อสู้อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2491 โดยจัดให้มีการประชุมใหญ่ของ[[สหภาพชาวนาแห่งพม่า]]ที่เมือง[[ปยี่นมะน่า]] มีการเรียกร้องให้ลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลด้วยกำลัง พรรคคอมมิวนิสต์พม่าตัดสินใจทำการปฏิวัติในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2491 โดยพรรคธงแดงได้ร่วมมือกับกบฏมุสลิม[[มุญาฮิดีน]]ใน[[รัฐยะไข่|ยะไข่]]ลุกฮือขึ้นพร้อมกันด้วยแต่พรรคธงแดงมีกำลังไม่พอจึงถูกปราบปรามได้โดยเร็ว อีกเดือนต่อมา โซ่ถูกจับกุมตัว
 
เส้น 43 ⟶ 40:
 
== ความเสื่อมสลาย ==
 
หลังจากนายพล[[เนวี่น]]ทำการปฏิวัติเมื่อ พ.ศ. 2505 พรรคคอมมิวนิสต์พม่าอยู่ในสภาพอ่อนแอและพยายามหาความร่วมมือจากชนกลุ่มน้อย พ.ศ. 2511 ผู้นำของพรรคคอมมิวนิสต์พม่าหลายคนเสียชีวิตทำให้กลุ่มนิยมจีนเข้ามามีอำนาจในพรรค เมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพม่าและจีนในช่วง พ.ศ. 2510–2513 จีนสนับสนุนพรรคคอมมิวนิสต์พม่าอย่างเปิดเผยจนสามารถกลับมายึดครองดินแดนภาคกลางแถบทิวเขาพะโคได้อีก พ.ศ. 2515 พรรคคอมมิวนิสต์พม่าพยายามหาความร่วมมือจากชนกลุ่มน้อยแต่ถูกปฏิเสธเพราะอุดมการณ์ต่างกัน ความแตกแยกกับชนกลุ่มน้อยเป็นเหตุให้ฝ่ายรัฐบาลสามารถรุกกลับ พรรคคอมมิวนิสต์พม่าต้องถอยกลับไปอยู่ชายแดนอีกครั้ง