ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดยะลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 115:
 
ขณะที่[[ซาไก|ชาวซาไก]]เผ่ากันซิวและจำนวนน้อยเป็นเผ่ากินตัก<ref>{{cite web |url= https://www.sac.or.th/databases/ethnicredb/research_detail.php?id=696 |title= เงาะป่า-ซาไก นิเชาเมืองไทย ชนป่าที่กำลังสูญสลาย |author= วันเฉลิม จันทรากุล |date= 2544 |work= ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |publisher=|accessdate= 14 กรกฎาคม 2562 }}</ref> ซึ่งเคยตั้งถิ่นฐานในเขตหมู่ 3 ตำบลบ้านแหร [[อำเภอธารโต]] แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่อพยพไปประเทศมาเลเซีย ด้วยเหตุผลด้านที่ทำกินและวิถีชีวิตที่ดีกว่า ประกอบกับเหตุผลด้านความไม่สงบ<ref name="ธาร">{{cite press release |title=
รอวันปิดตำนาน ‘ซาไก’ แห่ง ‘ศรีธารโต’|url=http://arabic.amannews.org/view/view.php?id=489|publisher=สำนักข่าวอามาน|language=ไทย|date=3 มกราคม พ.ศ. 2553|accessdate=5 สิงหาคม 2555}}</ref> นอกจากนี้ยังมี[[ชาวพม่า]] [[ชาวลาว|ลาว]] และ[[ชาวเขมร|กัมพูชา]] เข้าเป็นแรงงานในยะลาเป็นจำนวนมากในเขตอำเภอเมืองยะลาและอำเภอเบตง โดยใน พ.ศ. 2552 มีจำนวนไม่ต่ำกว่า 5,000 คน<ref>{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/content/21901 |title= ยะลาเปิดจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว |author=|date= 25 กรกฎาคม 2552 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 16 กรกฎาคม 2562 }}</ref> และมีชาวเขาจากภาคเหนืออพยพมาลงหลักปักฐานที่ยะลาหลายเผ่าเพื่อเป็นแรงงาน เช่น เผ่า[[ม้ง]]เข้ามาอาศัยในอำเภอเบตงและอำเภอธารโตจำนวนหนึ่ง และพบว่าม้งส่วนหนึ่งอาศัยอยู่ร่วมนิคมกับเผ่าซาไกที่บ้านซาไก<ref>{{cite book | author = วัชรินทร์ ดำรงกูล และปัตติกาญจน์ บรรดาศักดิ์| title = แนวทางการจัดการคืนถิ่นชนเผ่าซาไก : กรณีศึกษา ซาไกตระกูลศรีธารโต | url = http://research.culture.go.th/ebook/st120/files/assets/common/downloads/publication.pdf | publisher = งานวิจัย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม | location = | year =| page = 33, 43}}</ref> ส่วนชุมชน[[มูเซอ]]บ้านบ่อน้ำร้อนในอำเภอเบตง<ref>{{cite web |url= https://mgronline.com/south/detail/9570000096508 |title= ตชด.445 ยะลา รวบ 2 พ่อค้ายาบ้าชาวเขาเผาลาหู่ ได้ของกลางกว่า 9 พันเม็ด |author=|date= 23 สิงหาคม 2557 |work= MGR Online |publisher=|accessdate= 13 กรกฎาคม 2562 }}</ref><ref>{{cite web |url= https://radio.prd.go.th/betong/main.php?filename=24aa |title= การปราบปรามยาเสพติด |author=|date=|work= สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เบตง |publisher=|accessdate= 13 กรกฎาคม 2562 }}</ref><ref>{{cite web |url= http://spmcnews.com/?p=12380 |title= ชาวบ้านหาของป่า หลงป่าในพื้นที่ อ.เบตง จ.ยะลา นาน 9 วัน เจ้าหน้าที่ ตชด. นปพ. กู้ภัย กว่า 30 คน เร่งตามหา แต่ยังไม่พบตัว |author=|date= 19 ธันวาคม 2561 |work= SPM News |publisher=|accessdate= 13 กรกฎาคม 2562 }}</ref> มีประชากรมากถึงขั้นก่อตั้ง[[โบสถ์คริสต์]]ในชุมชนของตัวเอง<ref>{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/content/462245 |title= สุดใต้ที่เบตง |author= กินเลน ประลองเชิง |date= 10 พฤศจิกายน 2557 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 13 กรกฎาคม 2562 }}</ref>
 
=== ภาษา ===
บรรทัด 140:
}}
[[ไฟล์:Tham Thalu, Bannang Sata District, Yala, Thailand - panoramio.jpg|thumb|250px|วัดพุทธแห่งหนึ่งในอำเภอบันนังสตา]]
จังหวัดยะลาเป็นหนึ่งในสี่จังหวัดของไทยที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] แต่ก็เป็นจังหวัดที่มีสัดส่วนของผู้ที่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]]มากที่สุดในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้<ref>{{cite web |url=http://www.ryt9.com/s/cabt/146831|title=การสำรวจข้อมูลสำมะโนประชากรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้|author= |date= 3 สิงหาคม 2547|work= |publisher= |accessdate=16 เมษายน 2556}}</ref> มีชุมชนชาวคริสต์ขนาดย่อมทั้งนิกาย[[โรมันคาทอลิก]]และ[[โปรเตสแตนต์]]ในเขต[[เทศบาลนครยะลา]]และ[[เทศบาลเมืองเบตง]]<ref>{{cite web |url= https://deepsouthwatch.org/dsj/th/3713 |title= เสียงที่ไม่ค่อยได้ยิน ชาวคริสต์ในชายแดนใต้ |author= นูรยา เก็บบุญเกิด |date= 21 พฤศจิกายน 2555 |work= โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ |publisher=|accessdate= 12 กรกฎาคม 2562 }}</ref> นอกจากนี้ยังมีชุมชนของผู้นับถือ[[ศาสนาซิกข์]]ขนาดน้อย อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครยะลา<ref>{{cite web |url= https://siamrath.co.th/n/18581 |title= “ซิงค์ ลันดาเว” และชาวซิกข์ในยะลา |author= ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ |date= 30 มิถุนายน 2560 |work= สยามรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 10 กรกฎาคม 2562 }}</ref> ส่วนชาวซาไกหันมานับถือศาสนาพุทธโดยให้เหตุผลว่านับถือตาม[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] แต่ปัจจุบันยังปะปนไปด้วยความเชื่อพื้นเมือง<ref>{{cite web |url= http://www.sac.or.th/databases/ethnicredb/research_detail.php?id=700 |title= พฤติกรรมสุขภาพของชาวซาไก : กรณีศึกษาบ้านซาไก หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา |author= วีรวัฒน์ สุขวราห์ |date= 2539 |work= ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |publisher=|accessdate= 14 กรกฎาคม 2562 }}</ref> และแรงงานต่างด้าว[[ชาวพม่า]]ในยะลาก็นับถือศาสนาพุทธและร่วมปฏิบัติศาสนกิจร่วมกับชาวพุทธในท้องถิ่น<ref>{{cite web |url= https://mgronline.com/south/detail/9550000126163 |title= ชาวพม่าจัดหมฺรับแห่ “ส่งเปรต” ร่วมกับชาวพุทธยะลา สร้างสีสันบุญสารทเดือนสิบชายแดนใต้ |author=|date= 15 ตุลาคม 2555 |work= MGR Online |publisher=|accessdate= 16 กรกฎาคม 2562 }}</ref><ref>{{cite web |url= https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/771688 |title= ชาวไทยพุทธยะลาร่วมทำบุญสารทเดือนสิบคึกคัก |author=|date= 6 กันยายน 2560 |work= กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ |publisher=|accessdate= 16 กรกฎาคม 2562 }}</ref>
 
จากการสำรวจใน พ.ศ. 2550 พบว่า มีผู้นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]ร้อยละ 75.42 รองลงมาคือ[[ศาสนาพุทธ]]ร้อยละ 24.25 และศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 0.33 <ref>[http://110.164.58.164/yala_poc/report/sar/report/report.php?id=sm020301&headName=%A1%D2%C3%B9%D1%BA%B6%D7%CD%C8%D2%CA%B9%D2 จ ำนวนศาสนิกชนและศาสนสถานรายอำเภอ / เทศบาลปี พ.ศ. 2550]</ref> พ.ศ. 2553 พบว่า ประชากรนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 76.59 ผู้นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 22.74<ref>{{cite web |url= http://www.kpi.ac.th/media_kpiacth/pdf/M10_242.pdf |title= โครงการวงดนตรีออร์เคสตร้า เทศบาลนครยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา |author= ชลัท ประเทืองรัตนา |date= 1 พฤศจิกายน 2553 |work= สถาบันพระปกเกล้า |publisher=|accessdate= 14 กรกฎาคม 2562 }}</ref> ส่วนการสำรวจใน พ.ศ. 2557 พบว่า ประชากรนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 79.60 ผู้นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 20.13 และผู้นับถือศาสนาคริสต์และอื่น ๆ ร้อยละ 0.27<ref>{{cite web |url= https://www.m-culture.go.th/yala/article_attach/article_fileattach_20180720100611.pdf |title= บทที่ 1 สภาพทั่วไป จังหวัดยะลา |author=|date=|work= กระทรวงวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 10 กรกฎาคม 2562 }}</ref> และการสำรวจเมื่อ พ.ศ. 2559 พบว่า ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 74.06 ผู้นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 21.16 และผู้นับถือศาสนาคริสต์และอื่น ๆ ร้อยละ 4.78<ref name="ข้อมูลทั่วไป" /> หลังการก่อวินาศกรรมด้วยการวางระเบิดถนนสายหลักในปัตตานีเมื่อ พ.ศ. 2555 ส่งผลให้ชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทยพุทธจำนวนมากอพยพออกจากยะลา ประชากรที่นับถือศาสนาพุทธจึงหดตัวอย่างเฉียบพลัน<ref name="ประชาไท" /><ref name="ไทยรัฐ" /><ref name="ไทยพีบีเอส" />