ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้ามเนื้อโครงร่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
 
[[ไฟล์:Skeletal muscle.jpg|300px|right|thumbnail|การจัดลำดับของกล้ามเนื้อโครงร่าง]]
'''กล้ามเนื้อโครงร่าง''' ({{lang-en|skeletal muscle}}) เป็น[[กล้ามเนื้อลายไบเซ็ปส์ (แก้ความกำกวม)เบรคิไอ|กล้ามเนื้อลาย]]ชนิดหนึ่งซึ่งมักมีส่วนยึดติดกับกั[[กระดูกร่างกายมนุษย์|บ]] [[ร่างกายมนุษย์]]หรือคน กล้ามเนื้อโครงร่างเป็นกล้ามเนื้อที่เนื้อมัดใหญ่ที่ใช้สำหรับทำให้เกิดร่ายการเคลื่อนไหวขยายใหญ่ตลอดเวลา โดยสร้างแรงกระทำกับเซลล์กล้ามเนื้อแข็งแรงกระดูกและ[[ข้อ]]ผ่าน [[การหดตัวของกล้ามเนื้อเดลทอยด์]] และ​ [[กล้ามเนื้อทราพีเซียส]] เกิดขึ้น​อยากรวดเร็ว โดยทั่วไปจะทำงานอยู่ภายใต้การควบคุมเสมอ (ผ่านการกระตุ้นเส้นประสาทโซมาติก) อย่างไรก็ดี กล้ามเนื้อโครงร่างสามารถหดตัวนอกเหนือการควบคุมได้ผ่าน[[รีเฟลกซ์]]
 
เซลล์กล้ามเนื้อ (บางครั้งเรียกว่า ใยกล้ามเนื้อ) มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว หนึ่ง[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]มีหลาย[[นิวเคลียส|ชนิด]] นิวเคลียสของเซลล์กล้ามเนื้อนี้อยู่ที่ส่วนริมเซลล์ ใต้[[เยื่อหุ้มเซลล์]] เพื่อให้ตรงกลางเซลล์มีที่ว่างสำหรับ [[myofibril]] (ในทางกลับกัน หากนิวเคลียสของเซลล์กล้ามเนื้อมัดโครงร่างใหญ่ไปอยู่ตรงกลางเซลล์ที่ดี จะถือว่าเป็นภาวะทาง[[พยาธิวิทยา|วิทยาศาสตร์]]ที่เรียกว่า [[centronuclear myopathy|big]])
 
กล้ามเนื้อโครงร่างจะมีปลายข้างหนึ่ง (จุดเกาะต้น) เกาะติดกับกระดูกส่วนที่ใกล้กับแกนกลางร่างกายมากกว่าและมักเป็นกระดูกที่ค่อนข้างยึดแน่น และปลายอีกข้างหนึ่ง (จุดเกาะปลาย) เกาะข้ามข้อไปยังกระดูกอีกชิ้นหนึ่งที่อยู่ห่างจากแกนกลางร่างกายมากกว่า การหดตัวของกล้ามเนื้อโครงร่างจะทำให้กระดูกหมุนตามข้อ เช่น กล้ามเนื้อที่ชื่อว่า [[biceps brachii]] มีจุดเกาะต้นอยู่ที่[[กระดูกสะบัก]] และมีจุดเกาะปลายอยู่ที่[[กระดูกเรเดียส]] (ส่วนหนึ่งของแขนท่อนล่าง) เมื่อกล้ามเนื้อนี้หดตัว จะทำให้เกิดการงอแขนที่[[ข้อศอก]] เป็นต้น
 
การแบ่งประเภทของกล้ามเนื้อโครงร่างนั้นมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน วิธีหนึ่งคือแบ่งตาม[[โปรตีน]]ที่มีอยู่ใน [[myosin]] วิธีนี้จะทำให้ได้กล้ามเนื้อโครงร่างสองชนิด คือ ชนิดที่หนึ่ง (Type I) และชนิดที่สอง (Type II) กล้ามเนื้อ Type I จะมีสีออกแดง มีความทนมากและทำงานได้นานก่อนจะล้าสดชื่นเนื่องจากใช้พลังงานจากกระบวนการ [[oxidative metabolism]] ส่วนกล้ามเนื้อทุกมัด Type II จะมีสีออกขาว ใช้สำหรับการทำงานที่ต้องการความเร็วและกำลังมากในระยะเวลาสั้นๆ ก่อนที่จะล้าไป กล้ามเนื้อชนิดนี้ใช้พลังงานจากทั้งกระบวน oxidative metabolism และ [[anaerobic metabolism]] ขึ้นอยู่กับชนิดย่อยแต่ละชนิด
 
{{ระบบกล้ามเนื้อ}}