ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบผิวหนัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{สั้นมาก}} '''ระบบผิวหนัง''' ({{lang-en|Integumentary System}}) คือ ระบบป้องกั..."
ป้ายระบุ: ถูกแทน
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
'''ระบบผิวหนัง''' ({{lang-en|Integumentary System}}) คือ ระบบป้องกันแสงแดด.uv90.และสิ่งแปลกปลอมเข้ามาในร่างกาย มีเส้นประสาทรับความรู้สึกต่างๆตามปกติ
{| class="wikitable"
|
|Eng
|}
หน้าแรก > บริการวิชาการ > คลังความรู้ฯ > บทความ
 
= บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน =
บทความโดย คณาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 
อ่านแล้ว '''542,056''' ครั้ง  
 
ตั้งแต่วันที่ 12/02/2562
 
อ่านล่าสุด 1 ช.ม.ที่แล้ว
 
 
 
                เติมเข้าสู่ร่างกาย​ กลูตาไธโอน (glutathione) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่เซลล์ในร่างกายมนุษย์สามารถสังเคราะห์ได้เอง มีคุณสมบัติเป็นโปรตีนชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่ในการปกป้องเนื้อเยื่อไม่ให้ถูกทำลายโดยสารอนุมูลอิสระที่สะสมอยู่ตามส่วนต่างๆของร่างกาย กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย และที่สำคัญยังช่วยตับในการทำลายและขจัดสารพิษออกจากร่างกายด้วย
 
               ในทางการแพทย์พบว่ามีการนำกลูตาไธโอนมาทดลองใช้ในการรักษาโรคต่างๆ ซึ่งยังไม่ได้รับการอนุมัติข้อบ่งใช้จากองค์การอาหารและยา เช่น ภาวะเป็นหมันในเพศชาย ปลายเส้นประสาทอักเสบ มะเร็งกระเพาะอาหาร หรือมะเร็งต่อมลูกหมาก วิธีการรักษามักทำโดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำหรือเข้าที่กล้ามเนื้อ ผลข้างเคียงอย่างหนึ่งที่น่าแปลกใจ คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีดกลูตาไธโอนนั้นมีสีผิวที่ขาวขึ้น เนื่องมาจากกลูตาไธโอนสามารถยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส (tyrosinase) ได้ และส่งผลให้เม็ดสีของผิวหนังเปลี่ยนจากเม็ดสีน้ำตาลดำเป็นเม็ดสีชมพูขาว ด้วยเหตุนี้เองจึงมีผู้พยายามนำผลข้างเคียงของยามาใช้ในการทำให้ผิวขาวขึ้น ซึ่งนับได้ว่าเป็นการนำยามาใช้ในทางที่ผิดอีกรูปแบบหนึ่ง โดยในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาที่น่าเชื่อถือยืนยันหรือรับรองประสิทธิภาพและประโยชน์ของกลูตาไธโอนในการทำให้ผิวขาวได้อย่างแท้จริง จึงไม่น่าแปลกใจที่กลูตาไธโอนไม่ผ่านการรับรองข้อบ่งใช้โดยองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกาสำหรับทำให้ผิวขาว
 
               ผลิตภัณฑ์กลูตาไธโอนที่พบในท้องตลาดส่วนใหญ่นั้นเอยู่ในรูปยาเม็ดหรือผงละลายน้ำสำหรับรับประทาน ซึ่ง กลูตาไธโอนนี้สามารถถูกทำลายได้ในทางเดินอาหารของมนุษย์ ดังนั้นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการรับประทานกลูตาไธโอนในรูปแบบของยารับประทานนั้นแทบจะไม่มีเลย ที่ผ่านมาจึงพบว่ามีผู้พยายามนำกลูตาไธโอนในรูปแบบยาฉีดมาใช้แทนการรับประทานกันมากขึ้น เนื่องจากเชื่อว่ากลูตาไธโอนชนิดฉีดนั้นมีประสิทธิภาพในการทำให้ผิวขาวได้ดีกว่าและเห็นผลเร็วกว่ากลูตาไธโอนชนิดรับประทาน
 
               ประเด็นสำคัญของการใช้ยาฉีดกลูตาไธโอนโดยเฉพาะการฉีดเข้าหลอดเลือดดำนั้น คือ ความปลอดภัยจากการฉีดยา เนื่องจากผิวที่ขาวขึ้นจากกลูตาไธโอนนั้นเป็นผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้นชั่วคราวเท่านั้น หากต้องการให้ผลคงอยู่ไปตลอดจำเป็นต้องได้รับการฉีดซ้ำเป็นระยะ ทำให้มีการสะสมยาในร่างกายมากขึ้น และอาจก่อให้เกิดอันตรายในระยะยาวได้ นอกจากนี้การฉีดยาจำเป็นต้องกระทำโดยผู้ประกอบวิชาชีพที่เชี่ยวชาญเท่านั้น เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่างการให้ยา เช่น การฉีดยาในอัตราที่เร็วเกินไป การติดเชื้อในกระแสเลือดจากเครื่องมือที่ไม่สะอาดเ การเกิดฟองอากาศอุดตันหลอดเลือดเนื่องจากผู้ฉีดยาไล่ฟองอากาศในเข็มฉีดยาไม่หมด เป็นต้น ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อผู้ที่ได้รับยาจนถึงขั้นเสียชีวิตได้เลยทีเดียว
 
               ถึงแม้ว่ากลูตาไธโอนเป็นสารที่ร่างกายสร้างได้เองตามธรรมชาติ แต่ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ กลูตาไธโอนชนิดฉีดหรือชนิดรับประทานเพื่อให้ผิวขาวใสนั้นยังไม่มีการพิสูจน์ผลที่ชัดเจน ความปลอดภัยในการใช้ยาจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง และพึงระลึกไว้เสมอว่า “ ไม่มียาชนิดใดในโลกที่ปลอดภัยร้อยเปอร์เซนต์ ” ดังนั้นก่อนการใช้ยาใดๆ ก็ตามควรศึกษาข้อมูลให้ละเอียดเสียก่อนเพื่อความปลอดภัยของตนเอง
 
Reference:
 
1. Villarama CD, Maibach HI. Glutathione as a depigmenting agent: an overview. Int J Cosmet Sci 2005;27:147–53.
 
2. พิมลพรรณ พิทยานุกุล. สารกลูตาไธโอน ช่วยให้ขาวได้จริงหรือ [Online]. 2008 Apr 22 [cited 2010 Feb 5]. Available from: URL: <nowiki>http://www.consumerthai.org/old/cms/index.php?option=com_</nowiki> content&task=view&id=1055&Itemid=38
 
เปิดอ่านด้วย Google Doc Viewerดาวน์โหลดบทความ (pdf)ดูบทความอื่นๆ
 
===== บทความที่เนื้อหาเกี่ยวข้องกับบทความนี้ =====
 
* กลูตาไธโอน-Glutathione-ตอนที่1-ต้านโรค-ชะลอวัย อ่านแล้ว 90,671 ครั้ง
* กลูตาไธโอน-Glutathione-ตอนที่2-ยาฉีด-ยากิน-และยาทาอ่านแล้ว 217,006 ครั้ง
* อันตรายของ-ครีมหน้าขาว-ที่ผสม-ไฮโดรควิโนน อ่านแล้ว 202,540 ครั้ง
* ทรานซามิน-transamin-กับผิวขาว-จริงหรือ อ่านแล้ว 272,615 ครั้ง
* มะหาดทำให้ขาวขึ้นจริงหรือ อ่านแล้ว 117,997 ครั้ง
 
=== งานประชุมวิชาการที่กำลังเปิดรับสมัคร ===
 
* การประชุมวิชาการบูรณาการทางเภสัชกรรม (TSAC) ครั้งที่ 2 (เภสัชกรรมเทคโนโลยี เภสัชศาสตร์สังคมและการบริหาร และเภสัชกรรมคลินิก) การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างสมเหตุผลในการดูแลผู้สูงอายุ วันที่ 1-3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
* การประชุมวิชาการด้านการขึ้นทะเบียนตำรับยา ครั้งที่ 9 การบูรณาการข้อมูลคุณภาพผลิตภัณฑ์ เสถียรภาพและสารเจือปนเพื่อการขึ้นทะเบียนตำรับยา (Integrative Data of Product Quality, Stability and Impurity Testing for Drug Registration) วันที่ 23-24 กรกฎาคม 2562
* งานประชุมวิชาการ เรื่อง การสื่อสารในงานเภสัชกรรมโรงพยาบาลเพื่อผลลัพธ์ทางการรักษาและบริการที่ประทับใจวันที่ 1 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562
* การประชุมวิชาการ เรื่อง Pharmacy Review and Update Series 2019: Pharmacotherapy of Respiratory Diseases วันที่ 14 – 16 สิงหาคม พ.ศ. 2562
* ดูตารางการประชุมประจำปี
 
==== บทความที่ถูกอ่านล่าสุด ====
กลูต้าไธโอน (glutathione) ทำให้ขาวจริงหรือ?? 1 วินาทีที่แล้ว
 
ยาแก้ปวดศีรษะไมเกรน Ergotamine ใช้อย่างไรจึงจะปลอดภัย 12 วินาทีที่แล้ว
 
อันตรายจากสารไนเตรต-ไนไตรต์ 14 วินาทีที่แล้ว
 
ความเครียด และวิธีแก้ความเครียด 22 วินาทีที่แล้ว
 
สัตว์เลี้ยงกับยา 25 วินาทีที่แล้ว
 
ลูกตัวเหลือง เรื่องไม่เล็กของเด็กเปลี่ยนสี 26 วินาทีที่แล้ว
 
สมุนไพรป้องกันยุง 35 วินาทีที่แล้ว
 
ยาคุมฉุกเฉิน ... เรื่องจริงที่ผู้หญิงต้องรู้ 35 วินาทีที่แล้ว
 
คอนแทคเลนส์ ภัยใกล้ตา 1 นาทีที่แล้ว
 
ดูแลไตอย่างไร...ให้อยู่กับเราไปนานๆ 1 นาทีที่แล้ว
อ่านบทความทั้งหมด
----
 
===== ข้อจำกัดด้านลิขสิทธิ์บทความ: =====
บทความในหน้าที่ปรากฎนี้สามารถนำไปทำซ้ำเพื่อเผยแพร่ในเว็บไซต์ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ โดยไม่มีวัตถุประสงค์ในเชิงพาณิชย์ได้ ทั้งนี้การนำไปทำซ้ำนั้นยังคงต้องปรากฎชื่อผู้แต่งบทความ และห้ามตัดต่อหรือเรียบเรียงเนื้อหาในบทความนี้ใหม่โดยเด็ดขาด และกรณีที่ท่านได้นำบทความนี้ไปใช้ในเว็บเพจของท่าน ให้สร้าง Hyperlink เพื่อสร้าง link อ้างอิงบทความนี้มายังหน้านี้ด้วย
 
 
 ปรับขนาดอักษร  
 
===== Switch to English Version =====
 
=== คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ===
 
===== 447 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 =====
ดูเบอร์ติดต่อหน่วยงานต่างๆ | ดูข้อมูลการเดินทางและแผนที่
 
เว็บไซต์นี้ออกแบบและพัฒนาโดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนการสอน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 
Copyright © 2013-2015
{| class="wikitable"
|
|
|
|
|
|
|}
{{ระบบและอวัยวะ}}
{{โครงกายวิภาค}}