ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ชื่ออื่น|ชาวไท-ล้านนา|ไทเหนือ ซึ่งอาศัยในเขตเต๋อหง มณฑลยูนนาน|ไทเหนือ}}
{{Infobox ethnic group
เส้น 6 ⟶ 7:
| population = 6 ล้านคน<ref name=ethno>Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod Entry for Northern Thai] Dallas, Tex.: SIL International.</ref>
| popplace = [[ประเทศไทย]], [[ประเทศลาว]] ([[ห้วยทราย]], [[แขวงบ่อแก้ว]] และ[[แขวงไชยบุรี]])
| rels = ส่วนใหญ่ [[Imageไฟล์:Dharma Wheel.svg|16px]] [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]] ส่วนน้อย [[ศาสนาคริสต์]]
| langs = [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|คำเมือง]] (มักพูดสองภาษากับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]])
| related = [[ชาวไท]]
เส้น 15 ⟶ 16:
ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ใน[[มณฑลยูนนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า '''โยนกนคร''' เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า '''ยวน''' ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปใน[[อาณาจักรล้านนา]] ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ และปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี
 
คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น [[ลิลิตยวนพ่าย]] ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ''ยวน'' อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น<ref name=":0">{{Citation |author=Frederic Pain |title=An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai |journal=The Journal of the American Oriental Society |year=2008 |url= http://www.thefreelibrary.com/An+introduction+to+Thai+ethnonymy%3A+examples+from+Shan+and+Northern...-a0214480325}}</ref> เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับ[[ไทใหญ่|ชาวชาน]] โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan)<ref>{{Citation |author=Andrew Turton |authorlink=Andrew Turton |title=Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s |work=Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia |year=2004 |publisher=Frank Cass |place=London |page=73}}</ref> แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม
 
ในปี พ.ศ. 2454 [[:en:Daniel McGilvary|แดเนียล แมกกิลวารี]] ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนาเป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410–2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"<ref>{{cite book|last=McGilvary|first=Daniel|title=A HALF CENTURY AMONG
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทยวน"