ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
|pronunciation = {{IPA|lik.táj|}}
|ethnicity=[[ชาวไทใหญ่]]
| familycolor = ไทขร้า-กะไดไท
| script = [[อักษรไทใหญ่]]
| states = [[พม่า]] (โดยมากใน[[รัฐฉาน]]), ไทย, จีน
บรรทัด 13:
|date=2544
| rank = 126
|familycolor= ไทขร้า-กะไดไท
| fam2 = [[กลุ่มภาษาไท|ไท]]
| fam3=[[กลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้|ไทตะวันตกเฉียงใต้]]
บรรทัด 25:
{{อินคูเบเตอร์|shn}}
 
'''ภาษาไทใหญ่''' หรือ '''ภาษาฉาน''' ([[ภาษาไทใหญ่|ไทใหญ่]]: {{Audio|SHsound Liktai.wav|လိၵ်ႈတႆး}} [ลิ่กไต๊], {{Audio|SHsound Kwamtai.wav|ၵႂၢမ်းတႆး}} ''ความไท'' [กว๊ามไต๊], /kwáːm.táj/; {{lang-en|Shan language}}) เป็น[[ภาษาตระกูลไทขร้า-กะไดไท]] ใช้พูดในภาคเหนือของ[[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] และทางตอนใต้ของ[[ประเทศจีน]] มีเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนผู้พูดที่แน่นอน เนื่องจากสงครามระหว่างพม่ากับไทใหญ่ ทำให้การเข้าไปศึกษาเกี่ยวกับชาวไทใหญ่ทำได้ยาก คาดว่ามีผู้พูดราว 4-30 ล้านคน มีอักษรเป็นของตนเอง 2 ชนิดคือ [[อักษรไทใหญ่]] ใช้ในพม่า และ[[อักษรไทใต้คง]] ใช้ในจีน
 
แม้ว่าจะมีคำกล่าวว่า "อย่ากิ๋นอย่างม่าน อย่าตานอย่างไต" ซึ่งเปรียบเทียบวิถีชีวิตของชาวพม่าที่ให้ความสำคัญกับการกินอยู่ ซึ่งแตกต่างจาก[[ชาวไทใหญ่]]ที่ให้ความสำคัญแก่การทำบุญ ถึงกระนั้นไทใหญ่ก็รับวัฒนธรรม ศาสนา ตลอดจนถึงคำในภาษาพม่าเข้ามามาก จนคำไทใหญ่หลายถิ่นเป็นกวามไตลอแล คือไทใหญ่พูดคำพม่าปนไปหมด เช่นที่เมืองสีป้อและเมืองยางเป็นต้น<ref>บรรจบ พันธุเมธา. '''ไปสอบคำไทย'''. โครงการเผยแพร่วัฒนธรรมไทย กระทรวงศึกษาธิการ, 2522</ref>