ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอปราสาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
| image_map = Amphoe 3205.svg
}}
'''ปราสาท''' เป็นอำเภอหนึ่งของ[[จังหวัดสุรินทร์]] นับเป็นอำเภอที่มีความเจริญมากเป็นอันดับสองของจังหวัดรองจาก[[อำเภอเมืองสุรินทร์]]และนอกจากนี้อำเภอปราสาทนับเป็นอำเภอที่มีประชากรมากเป็นอันดับลำดับที่ 2 ของจังหวัด รองจากอำเภอเมือง ประชากรส่วนใหญ่ของอำเภอปราสาทเป็น[[ชาวไทยเชื้อสายเขมร]] ซึ่งนับเป็นอีกอำเภอหนึ่งของจังหวัดที่มีชาวไทยเชื้อสายเขมรมากที่สุด
 
==ที่มาของ ชื่ออำเภอ ==
สาเหตุที่ราชการตั้งชื่ออำเภอนี้ว่า "อำเภอปราสาท" นั้น เนื่องจากเป็นท้องที่ที่มีปราสาทหินโบราณอยู่มาก ซึ่งสร้างโดยฝีมือชาวขอมอยู่หลายแห่ง เช่น ปราสาทหินบ้านพลวง ตั้งอยู่ที่บ้านพลวง , ปราสาทหินบ้านปราสาท ตำบลปราสาททนง, ปราสาทหินตะคร้อ ตำบลเชื้อเพลิง เป็นต้น
 
== ประวัติศาสตร์ ==
อำเภอปราสาท นับเป็นอำเภอที่มีความเจริญมากเป็นอันดับสองของจังหวัดรองจากอำเภอเมืองสุรินทร์และนอกจากนี้อำเภอปราสาทนับเป็นอำเภอที่มีประชากรมากเป็นลำดับที่2 ของจังหวัด รองจากอำเภอเมือง ประชากรส่วนใหญ่ของอำเภอปราสาทเป็น[[ชาวไทยเชื้อสายเขมร]] ซึ่งนับเป็นอีกอำเภอหนึ่งของจังหวัดที่มีชาวไทยเชื้อสายเขมรมากที่สุด
อำเภอปราสาทเดิมเป็นท้องที่การปกครองของ[[อำเภอเมืองสุรินทร์]] ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2480 ในช่วงรัฐบาลพลเอก [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พระยาพหลพลพยุหเสนา]] ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สองของประเทศไทย ทางราชการได้พิจารณาเห็นว่า อำเภอเมืองสุรินทร์มีขอบเขตการปกครองและพลเมืองมาก บางแห่งเป็นถิ่นทุรกันดารห่างไกล การปกครองดูแลไม่ทั่วถึง การคมนาคมไม่สะดวก ยากต่อการที่ประชาชนจะเข้าไปติดต่อราชการ เพื่อความสะดวกในการปกครอง อำเภอเมืองสุรินทร์จึงได้แยกท้องที่ตำบลกังแอน ตำบลไพล ตำบลตาเบา ตำบลทุ่งมน ตำบลทมอ ตำบลปรือ และตำบลบักได รวม 7 ตำบล ตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอปราสาท''' โดยตั้งตัวที่ว่าการอำเภอ ณ บ้านกังแอน ตำบลกังแอน อันเป็นที่ตั้งตัวอำเภอในปัจจุบัน และต่อมากิ่งอำเภอปราสาทได้รับการยกฐานะเป็น '''อำเภอปราสาท'''
 
และต่อมาใน พ.ศ. 2518 ทางราชการได้แยกตำบลบักไดและตำบลกาบเชิงไปเป็นเขตการปกครองของกิ่งอำเภอกาบเชิง และทางราชการได้ยกฐานะเป็น[[อำเภอกาบเชิง]]ในภายหลัง
==ประวัติ==
อำเภอปราสาทเดิมเป็นท้องที่การปกครองของ[[อำเภอเมืองสุรินทร์]] ต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2480 ในช่วงรัฐบาลพลเอก [[พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)|พระยาพหลพลพยุหเสนา]] ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สองของประเทศไทยหรือตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] รัชกาลที่8 ทางราชการได้พิจารณาเห็นว่า อำเภอเมืองสุรินทร์มีขอบเขตการปกครองและพลเมืองมาก บางแห่งเป็นถิ่นทุรกันดารห่างไกล การปกครองดูแลไม่ทั่วถึง การคมนาคมไม่สะดวก ยากต่อการที่ประชาชนจะเข้าไปติดต่อราชการ เพื่อความสะดวกในการปกครอง การป้องกันและปราบปรามโจรผู้ร้าย การให้การบริการแก่ประชาชน ตลอดทั้งเป็นการสร้างความเจริญให้กับท้องถิ่น อำเภอเมืองสุรินทร์จึงได้แยกท้องที่ตำบลกังแอน ตำบลไพล ตำบลตาเบา ตำบลทุ่งมน ตำบลทมอ ตำบลปรือ และตำบลบักได รวม 7 ตำบล ตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอปราสาท''' โดยตั้งตัวที่ว่าการอำเภอ ณ บ้านกังแอน ตำบลกังแอน อันเป็นที่ตั้งตัวอำเภอในปัจจุบัน และต่อมากิ่งอำเภอปราสาทได้รับการยกฐานะเป็น '''[[อำเภอปราสาท]]'''
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
และต่อมาในปี พ.ศ. 2518 ทางราชการได้แยกตำบลบักไดและตำบลกาบเชิงไปเป็นเขตการปกครองของกิ่งอำเภอกาบเชิง และทางราชการได้ยกฐานะเป็น[[อำเภอกาบเชิง]]ในภายหลัง
 
==ที่ตั้งและอาณาเขต==
อำเภอปราสาทตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอเมืองสุรินทร์]]
เส้น 83 ⟶ 81:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลประทัดบุ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลประทัดบุทั้งตำบล
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
== สถานศึกษา ==
=== การศึกษา ===
'''สถาบันอุดมศึกษา'''
;สถาบันอุดมศึกษา
* [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] วิทยาเขตสุรินทร์
* วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีศรีสุรินทร์
 
;อาชีวศึกษา
1.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิทยาเขตสุรินทร์
 
2.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีศรีสุรินทร์
 
=== อาชีวศึกษา ===
* วิทยาลัยการอาชีพปราสาท
 
===;โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา ===
#* [[โรงเรียนประสาทวิทยาคาร]]
#* [[โรงเรียนโคกยางวิทยา]]
#* โรงเรียนไทรแก้ววิทยา
#* [[โรงเรียนตานีวิทยา]]
#* โรงเรียนเชื้อเพลิงวิทยา
#* โรงเรียนทุ่งมนวิทยาคาร
#* โรงเรียนตาเบาวิทยา
#* โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินท
#* โรงเรียนบ้านพลวง
=== สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ===
#โรงเรียนสุวรรณวิจิตรวิทยา (ระดับมัธยมศึกษา)
#โรงเรียนอนุบาลกมลนิตย์
 
== การสาธารณสุข ==
*[[โรงพยาบาลปราสาท]] เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 150 เตียง ซึ่งเป็นโรงพยาบาลของรัฐที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของจังหวัดรองจาก[[โรงพยาบาลสุรินทร์|โรงพยาบาลศูนย์สุรินทร์]] (กำลังมีโครงการก่อสร้างอาคารผู้ป่วยนอก ผ่าตัดและสำนักงาน เป็นอาคาร 3 ชั้น พื้นที่ใช้สอย 4,585 ตารางเมตรพร้อมอุปกรณ์ประกอบอาคาร)
โดยได้รับงบประมาณจากโครงการไทยเข้มแข็งทั้งสิ้น 77.95 ล้านบาท (อ้างอิง: http://sp2.tkk2555.com/sp2/ebud_province.aspx?id=32)
*สาธารณสุขอำเภอจำนวน 1 หนึ่งแห่ง ตั้งอยู่ถนนสาย ปราสาท-สังขะ
 
*โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั้งหมด 23 แห่ง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตรวจระมวล
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกสะอาด
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเชื้อเพลิง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโชคนาสาม
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตานี
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาเบา
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทมอ
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งมน
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพลวง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประทัดบุ
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปราสาททนง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปรือ(อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลนิคมปราสาท)
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไพล
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสมุด
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองใหญ่
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกะดาด ตำบลโคกยาง
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านทัพไทย ตำบลทมอ
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านไทร ตำบลบ้านไทร
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านปรือ ตำบลปรือ
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านปลัด ตำบลหนองใหญ่
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านมะเมียง ตำบลโชคนาสาม
#โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านรันเดง ตำบลโคกสะอาด
 
;โรงเรียนเอกชน
== การเดินทาง ==
* โรงเรียนสุวรรณวิจิตรวิทยา (ระดับมัธยมศึกษา)
* '''อำเภอปราสาทตั้งอยู่บนทางหลวงสายสำคัญ 2 สาย จึงเป็นทางผ่านที่สำคัญสามารถเดินทางได้สะดวกโดยทางบก ดังนี้'''
* โรงเรียนอนุบาลกมลนิตย์
 
=== สาธารณสุข ===
* รถประจำทางสาย กรุงเทพ ปลายทาง สุรินทร์
* [[โรงพยาบาลปราสาท]] เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 150 เตียง ซึ่งเป็นโรงพยาบาลของรัฐที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของจังหวัดรองจาก[[โรงพยาบาลสุรินทร์]]
* รถประจำทางสาย กรุงเทพ ปลายทาง ศรีสะเกษ
* สาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง ตั้งอยู่ถนนสายปราสาท-สังขะ
* รถประจำทางสาย กรุงเทพ ปลายทาง กันทรลักษณ์-เขาพระวิหาร
* โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพทั้งหมด 23 แห่ง กระจายตามตำบลต่าง ๆ
* รถประจำทางสาย กรุงเทพ ปลายทาง อุบลราชธานี
* รถประจำทางสาย นครราชสีมา ปลายทาง สุรินทร์
* รถประจำทางสาย นครราชสีมา ปลายทาง ศรีสะเกษ
* รถประจำทางสาย นครราชสีมา ปลายทาง อุบลราชธานี
* รถประจำทางสาย มุกดาหาร ปลายทาง พัทยา
* รถประจำทางสาย อุบลราชธานี ปลายทาง พัทยา
 
=== การขนส่ง ===
*'''การเดินทางโดยรถไฟ'''
*ท่านอำเภอปราสาทตั้งอยู่บนทางหลวงสายสำคัญ 2 สาย จึงเป็นทางผ่านที่สำคัญสามารถเดินทางมาโดยทางถนนได้สะดวก ส่วนการโดยสารรถไฟเดินทางทางราง โดยสามารถเดินทางมาลงที่สถานีรถไฟสุรินทร์ แล้วต่อรถโดยสารจากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดสุรินทร์เพื่อมายังอำเภอปราสาทได้ ทั้งโดยมีรถสองแถว รถตู้- รถบัสโดยสารสายสุรินทร์-ช่องจอม และรถประจำทางอื่นๆที่ผ่านมาทางอำเภอปราสาทอื่น ๆ ให้บริการ ระยะทางจากอำเภอเมืองสุรินทร์ - ถึงอำเภอปราสาท มีระยะทางเพียง 29 กิโลเมตร
*'''โครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุรินทรภักดี'''
*<big>เป็นโครงการก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ของจังหวัดสุรินทร์ บริเวณริมถนนสุรินทร์-ปราสาท ตำบลเชื้อเพลิง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ บนเนื้อที่กว่า1พันไร่ สามารถรองรับผู้โดยสารได้วันละ 5,000 คน โดยจะกลายเป็นศูนย์กลางการบินของอีสานตอนล่างและจะเปิดให้บริการสายการบินระหว่างประเทศไปยังกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชาและนครโฮจิมินซิตี้ ประเทศเวียดนามในอนาคต</big>
 
== เศรษฐกิจ ==
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของอำเภอปราสาทอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี การกระจายความเจริญอยู่ในระดับปานกลาง สภาพคล่องทางเศรษฐกิจและเงินหมุนเวียนในระบบตลาดต่อน อยู่ในลำดับที่ 2 ของจังหวัดสุรินทร์ (รองจากอำเภอเมืองสุรินทร์) การเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2552-2557 มีมูลค่าการลงทุนสะสมสูงเป็นอันดับ 1 ของจังหวัด ที่ 6 พันล้านบาท
*สภาพเศรษฐกิจโดยรวม
<ref>http://www.industry.go.th/ops/pio/surin</ref><ref>http://www.surin.go.th/surin/14_3.htm</ref><ref>http://www.industry.go.th/ops/pio/surin/Lists/annuity/Attachments/139/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%20%E0%B8%81.%E0%B8%A2.2554.pdf</ref>
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของอำเภอปราสาทอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี การกระจายความเจริญอยู่ในระดับปานกลาง สภาพคล่องทางเศรษฐกิจและเงินหมุนเวียนในระบบตลาด/วัน อยู่ในลำดับที่ 2
ของจังหวัดสุรินทร์ (รองจากอำเภอเมืองสุรินทร์) การเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมในปี 2552-2557 มีมูลค่าการลงทุนสะสมสูงเป็นอันดับ 1 ของจังหวัด ที่ 6 พันล้านบาท
(อ้างอิง:http://www.industry.go.th/ops/pio/surin) (http://www.surin.go.th/surin/14_3.htm)<ref>http://www.industry.go.th/ops/pio/surin/Lists/annuity/Attachments/139/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%20%E0%B8%81.%E0%B8%A2.2554.pdf</ref> สาเหตุที่ทำให้อำเภอปราสาทมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี เนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้วางยุธศาสตร์ให้จังหวัดสุรินทร์เป็นหนึ่งในประตู่สู่อินโดจีนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกของอาเซียน อำเภอปราสาทมีที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเส้นทางการขนส่งที่มีถนนสายสำคัญผ่านสองสายคือ ทางหลวงหมายเลข 24 ([[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24|สีคิ้ว-เดชอุดม]]) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครรราชสีมา ผ่านเข้าสู่จังหวัดบุรีรัมย์ เข้าจังหวัดสุรินทร์ที่อำเภอปราสาท ผ่าน[[อำเภอสังขะ]] เข้าสู่[[จังหวัดศรีสะเกษ]] และไปสิ้นสุดที่อำเภอเดชอุดม [[จังหวัดอุบลราชธานี]] ซึ่งสามารถออกสู่ประตูอินโดจีนที่ด่านช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานีได้ ปัจจุบันการเดินทางจากอำเภอปราสาท โดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ไปยังกรุงเทพมหานคร เป็นถนน4ช่องจราจรจนถึงทางแยกยกระดับอำเภอสีคิ้ว ถนนสายสำคัญอีกเส้นหนึ่ง คือ ทางหลวงหมายเลข 214 มีจุดเริ่มต้นจากเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ผ่านจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดมหาสารคราม เข้าสู่จังหวัดสุรินทร์ที่อำเภอท่าตูม ผ่านอำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอปราสาท เข้าสู่อำเภอกาบเชิง และสิ้นสุดที่ประตูอินโดจีน ช่องจอม ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับถนนหมายเลข 68 ของกัมพูชาที่ทางรัฐบาลไทยให้เงินช่วยเหลือในการพัฒนาเส้นทาง จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นทำให้อำเภอปราสาทอยู่ในฐานะที่เป็นดินแดนเชื่อมโยงของจังหวัดและของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลการลงทุนในอำเภอปราสาทขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีบางปีที่เกิดสภาวะถดถอยบ้าง จากสภาวะเศรษฐกิจโลกและความไม่มั่นคงทางการเมืองของประเทศ
อย่างไรก็ดี ยุทธศาสตร์ที่ตั้งของอำเภอปราสาทยังคงเสียเปรียบอำเภอประโคนชัยและอำเภอนางรองของจังหวัดบุรีรัมย์ ได้เนื่องจากอำเภอดังกล่าวมีที่ตั้งที่สามารถเชื่อมต่อสู่ภาคตะวันออกได้
 
สาเหตุที่ทำให้อำเภอปราสาทมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี เนื่องจากคณะรัฐมนตรีได้วางยุธศาสตร์ให้จังหวัดสุรินทร์เป็นหนึ่งในประตู่สู่อินโดจีนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางบกของอาเซียน อำเภอปราสาทมีที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเส้นทางการขนส่งที่มีถนนสายสำคัญผ่านสองสายคือ [[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24]] (สีคิ้ว-เดชอุดม) และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214]] ทำให้อำเภอปราสาทอยู่ในฐานะที่เป็นดินแดนเชื่อมโยงของจังหวัดและของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่งผลการลงทุนในอำเภอปราสาทขยายตัวอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ที่ตั้งของอำเภอปราสาทยังคงเสียเปรียบ[[อำเภอประโคนชัย]]และ[[อำเภอนางรอง]]ของ[[จังหวัดบุรีรัมย์]] เนื่องจากสองอำเภอดังกล่าวมีที่ตั้งที่สามารถเชื่อมต่อสู่[[ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออก]]ได้
*ภาคเกษตรกรรม
ประชนชนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งพืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย
 
ในภาคเกษตรกรรม มีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว มันสำปะหลัง และอ้อย ส่วนในภาคอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมประเภทแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น โรงสีไฟ ซึ่งกระจายอยู่ทั่วไป โดยอำเภอปราสาทมีโรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญ เช่น โรงงานน้ำตาล, โรงไฟฟ้า และโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าขนาดใหญ่ เป็นต้น
*ภาคอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมในเขตอำเภอปราสาทส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมประเภทแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น โรงสีไฟ ซึ่งกระจายอยู่ทั่วไปในเขตอำเภอปราสาท โดยอำเภอปราสาทมีโรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญ เช่น บริษัทน้ำตาลสุรินทร์จำกัด บริษัทไฟฟ้าสุรินทร์จำกัด บริษัท เอช บี ไอ แมนูแฟคเจอร์ริ่ง (ประเทศไทย)จำกัด (โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าขนาดใหญ่) เป็นต้น
 
ย่านการค้าที่สำคัญในตัวอำเภอมีดังนี้
'''ห้างสรรสินค้า'''
* เทศบาลตำบลกังแอน จุดศูนย์กลางของอำเภอ
 
* ปราสาทเมืองใหม่ ตำบลบ้านพลวง ประชิดกับเขตเทศบาลตำบลกังแอน
1.ห้างสรรพสินค้าเทสโก้ โลตัส 2 ชั้น
* เทศบาลตำบลนิคมปราสาท บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 เป็นที่ตั้งของวิทยาลัยการอาชีพปราสาท และสำนักงานขนส่งจังหวัดสุรินทร์ สาขาอำเภอปราสาท
 
2.ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซีซุปเปอร์เซ็นเตอร์ 2 ชั้น พร้อมด้วยโรงภาพยนตร์เมเจอร์ซินีเพล็กซ์
 
3.เมย์ ซุปเปอร์สโตร์
 
*สถาบันการเงิน
#ธนาคารกรุงเทพ
#ธนาคารไทยพาณิชย์
#ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้ โลตัส
#ธนาคารกรุงไทย
#ธนาคารกสิกรไทย
#ธนาคารออมสิน
#ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาปราสาท 1
#ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาปราสาทใต้ (ปราสาทเมืองใหม่)
 
==โอกาสทางธุรกิจในอำเภอ==
*จากการที่อำเภอปราสาทมีจุดที่ตั้งที่ค่อนข้างได้เปรียบในการเชื่อมต่อสู่ประเทศเพื่อนบ้าน และนโยบายของจังหวัดสุรินทร์ที่มีความพยายามที่จะผลักดันให้ช่องจอม (แดนชายแดนถาวร ตั้งอยู่ในเขต[[อำเภอกาบเชิง]] ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอปราสาท บนทางหลวงหมายเลข 214) เป็นเส้นทางหลักในการเดินทางเพื่อเข้าสู่[[นครวัด]]-นครธม-[[พนมเปญ]] ซึ่งเป็นเมืองสำคัญของประเทศกัมพูชา จะทำให้อำเภอปราสาทมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น เนื่องจากเป็นเส้นทางผ่านสายหลักของประตู[[อินโดจีน]]ด้านทิศใต้ของ[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]
*การพยายามผลักดันเขตเศรษฐกิจพิเศษช่องจอมของจังหวัดสุรินทร์ ทำให้เกิดการสนับสนุนงบประมาณและนโยบายต่างๆ แม้ว่าช่องจอมจะไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตอำเภอปราสาทโดยตรง แต่การเดินทางขนสินค้าและบริการเข้าสู่ตลาดภายในภูมิภาค จำเป็นต้องเดินทางผ่านอำเภอปราสาท ซึ่งส่งผลให้อำเภอปราสาทได้รับประโยชน์จากโครงการนี้เช่นกัน
*โครงการขยายทางหลวงหมายเลข 214 จาก 2 ช่องจราจร เป็น 4 ช่องจราจร จากอำเภอเมืองสุรินทร์-จอมพระ-ท่าตูม-สุวรรณภูมิ และจากอำเภอปราสาท-กาบเชิง-ช่องจอม (เส้นทางเศรษฐกิจเหนือ-ใต้) และทางหลวงหมายเลข 24 ช่วงนางรอง-ประโคนชัย-ปราสาท-สังขะ เพื่อเชื่อมต่อไปยังด่านช่องเม็ก [[จังหวัดอุบลราชธานี]] (เส้นทางเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) จะทำให้อำเภอตามเส้นทางดังกล่าวมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มมากขึ้น (อ้างอิง:http://www.rd1677.com/branch.php?id=86367) (http://nntworld.prd.go.th/view.php?m_newsid=255507290220&tb=N255507) (http://www.publicconsultation.opm.go.th/phs/new_phs_proj_view.asp?editId=P550704006)
*การเปิด[[ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน]] จะทำให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือและทุนอย่างเสรี เมื่อด่านชายแดนช่องจอมเป็นประตูเข้าสู่ภาคอีสาน จะทำให้อำเภอปราสาทมีความเจริญมากขึ้นอย่างหลึกเลี่ยงมิได้ และจากการที่คณะรัฐมนตรีได้วางนโยบายพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของอาเซียน [[โรงเรียนประสาทวิทยาคาร]] ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำอำเภอปราสาทเป็น 1 ใน 14 โรงเรียนทั่วประเทศที่ได้รับคัดเลือกเข้าโครงการดังกล่าว จะทำให้มีชาวต่างชาติในอำเภอปราสาทเพิ่มมากขึ้น เป็นโอกาสในการประกอบการพาณิชย์
*จำนวนเงินสะพัดในระบบตลาดและประชากรที่มีมากเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดสุรินทร์ ทำให้มีแรงงานจำนวนมากเพียงพอต่อความต้องการของตลาด
 
==ย่านการค้าที่สำคัญ==
*เทศบาลตำบลกังแอน เป็นจุดศูนย์กลางของอำเภอ เป็นย่านการค้าหลัก
*ปราสาทเมืองใหม่ ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ้านพลวง ประชิดกับเขตเทศบาลตำบลกังแอน โครงการปราสาทเมืองใหม่(หรือตลาดโรจน์ระวี)เป็นย่านการค้าเอกชน ที่นี่จะมีตลาดคลองถมทุกวันศุกร์และมีตลาดนัดทุกวันที่5,15และ25ของเดือนและภายในตลาด มีสถานบันเทิง ร้านค้า ร้านอาหารนานาชาติซึ่งเป็นแหล่งพบปะของชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในอำเภอปราสาทและยังเป็นที่ตั้งของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรอีกด้วย
*เทศบาลตำบลนิคมปราสาท บนทางหลวงหมายเลข 24 ซึ่งเทศบาลตำบลนิคมปราสาทเป็นที่ตั้งของวิทยาลัยการอาชีพปราสาท สำนักงานขนส่งจังหวัดสุรินทร์สาขาอำเภอปราสาท
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
<!-----------------------
หมายเหตุ: ที่ต้องลบออกเพราะบทความอำเภอไม่มีความจำเป็นต้องสอดแทรก
เนื้อหาประเภทรายการปั้มน้ำมันหรือห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
------------------------>
{{อำเภอจังหวัดสุรินทร์}}
 
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดสุรินทร์|ปราสาท]]
{{โครงจังหวัด}}