ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวฮั่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Cuteystudio (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Shoshui
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Horus (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Cuteystudio
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 135:
* ตามประเพณีทั่วไปนิยมนับถือทั้ง 4 ศาสนาพร้อมกัน ได้แก่ ([[ศาสนาพื้นบ้านจีน]], [[ศาสนาพุทธ]]นิกาย[[มหายาน]], [[ลัทธิขงจื๊อ]], [[ลัทธิเต๋า]]) <br>
* [[การไม่มีศาสนา|ไม่นับถือศาสนา]] <br>
* [[ศาสนาคริสต์]]และความเชื่ออื่นๆอื่น ๆ<ref name="CSLS2010">2010 Chinese Spiritual Life Survey conducted by Dr. Yang Fenggang, Purdue University's Center on Religion and Chinese Society. Statistics published in: Katharina Wenzel-Teuber, David Strait. ''[http://www.china-zentrum.de/fileadmin/redaktion/RCTC_2012-3.29-54_Wenzel-Teuber_Statistical_Overview_2011.pdf People's Republic of China: Religions and Churches Statistical Overview 2011] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160303184353/http://www.china-zentrum.de/fileadmin/redaktion/RCTC_2012-3.29-54_Wenzel-Teuber_Statistical_Overview_2011.pdf |date=2016-03-03 }}''. Religions & Christianity in Today's China, Vol. II, 2012, No. 3, pp. 29–54, {{ISSN|2192-9289}}.</ref>
| related = [[ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต|กลุ่มชาติจีน-ทิเบต]]
| footnotes =
บรรทัด 143:
[[File:Hanfu yueyao.jpg|thumb|ชายชาวจีนฮั่นขณะประกอบพิธีแบบดั้งเดิม]]
'''ชาวจีนฮั่น''',<ref>{{Cite book |title=China: A Religious State |last=Hsu |first=Cho-yun |publisher = Columbia University Press |year=2012 |isbn=978-0-231-15920-3 |page=126}}</ref><ref>{{Cite book |title=Learning to Be Tibetan: The Construction of Ethnic Identity at Minzu |last=Yang |first=Miaoyan |publisher= Lexington Books |year=2017 |isbn=978-1-4985-4463-4 |page=7}}</ref><ref name="Chinese people">[http://www.huayuqiao.org/articles/shcheong/shcheong02.htm Who are the Chinese people?] {{zh icon}}. Huayuqiao.org. Retrieved on 2013-04-26.</ref> '''ฮั่นซู''',<ref>{{Cite book |title = The Han: China's Diverse Majority|last=Joniak-Luthi |first=Agnieszka|publisher=University of Washington Press|year=2015|isbn=978-0-295-80597-9 |page = 3 }}</ref><ref>{{Cite book |title=Constructing Nationhood in Modern East Asia|last=Chow|first=Kai-wing|publisher=University of Michigan Press|year=2001|isbn=978-0-472-06735-0 |page = 2 }}</ref><ref>{{cite book |title=The Last Emperors: A Social History of Qing Imperial Institutions|last=Rawski|first=Evelyn|publisher=University of California Press|year=2001|isbn=978-0-520-92679-0 |page = 2 }}</ref> '''ชาวฮั่น'''<ref>{{Cite book |title=China at War: An Encyclopedia |last=Li |first=Xiaobing |publisher= Pentagon Press |year=2012 |isbn=978-81-8274-611-4 |page=155}}</ref><ref name=CHC12>{{cite book |last1=Fairbank |first1=John K. |date=1983 |title=The Cambridge History of China Volume 12: Republican China, 1912–1949, Part 1 |url = http://universitypublishingonline.org/cambridge/histories/ebook.jsf?bid=CBO9781139054799 |location=
|publisher=Cambridge University Press |page= |isbn= 978-1-139-05479-9 |access-date=May 20, 2016}}</ref><ref name=Wen2004Nature>{{cite journal |last1 = Wen |display-authors=etal | year = 2004 |title = Genetic evidence supports demic diffusion of Han culture | url = http://www.nature.com/nature/journal/v431/n7006/abs/nature02878.html | journal = Nature | volume = 431 | issue = 7006 | pages = 302–05 | doi=10.1038/nature02878 | pmid=15372031 |bibcode = 2004Natur.431..302W}}</ref> ({{zh|t=漢人 |p=ฮ่านเหริน |l=ชาวฮั่น}}<ref name=Kim2004>{{cite book |last1=Kim |first1=Hodong |date=2004 |title=Holy War in China: The Muslim Rebellion and State in Chinese Central Asia, 1864–1877 |url=https://books.google.com/?id=AtduqAtBzegC |location= |publisher=Stanford University Press |page=320 |isbn=978-0-8047-7364-5 |access-date=May 20, 2016}}</ref> หรือ {{lang|zh-hant|漢族}}, {{zh|links=no |p=ฮ่านซู}}, มีความหมายแปลว่า "ชาติพันธุ์ฮั่น"<ref>{{cite book|year=2015|author=Xiaobing Li |author2=Patrick Fuliang Shan|title=Ethnic China: Identity, Assimilation, and Resistance|publisher=[[Lexington Books]]|page=69|isbn=978-1-4985-0729-5}}</ref> หรือ "กลุ่มชาติพันธุ์ฮั่น"),<ref name=Rawski>{{cite book|year=1998|last1=Rawski|first=Evelyn S.|title=The Last Emperors: A Social History of Qing Imperial Institutions|publisher=[[Stanford University Press]]|page=2|isbn=978-0-520-92679-0}}</ref> เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]ใน[[เอเชียตะวันออก]]และมีถิ่นกำเนิดใน[[ประเทศจีน]]<ref>{{cite journal |author1= Ang, Khai C.|author2= Ngu Mee S. |author3= Reid P. Katherine |author4= Teh S. Meh |author5= Aida, Zamzuraida |author6= Koh X.R. Danny |author7=Berg, Arthur|author8=Oppenheimer, Stephen|author9=Salleh, Hood |author10=Clyde M. Mahani|author11=ZainMd M. Badrul |author12=Canfield A.
Victor|author13=Cheng C. Keith |title=Skin Color Variation in Orang Asli Tribes of Peninsular Malaysia |journal=[[PLoS ONE]] |issue=8 |volume= 7 |page= 2 |year=2012 |doi = 10.1371/journal.pone.0042752 |pmid= 22912732 |pmc= 3418284 |bibcode= 2012PLoSO...742752A }}</ref><ref>{{cite journal |author1= Wang, Yuchen |author2= Lu Dongsheng |author3= Chung Yeun-Jun |author4 = Xu Shuhua |title = Genetic structure, divergence and admixture of Han Chinese, Japanese and Korean populations |journal = Hereditas |volume= 155 |page = 19 |year=2018
|url=https://link.springer.com/content/pdf/10.1186%2Fs41065-018-0057-5.pdf |doi = 10.1186/s41065-018-0057-5 |pmid= 29636655 |pmc= 5889524 }}</ref>
บรรทัด 150:
มีหลักฐานว่าชาวฮั่นถือกำเนิดมาตั้งแต่สมัย[[หวงตี้]] (黃帝) อาศัยอยู่ในแถบดินแดนจงหยวน และกระจายอยู่ทั่วประเทศจีนมายาวนานกว่า 5,000 ปี นับตั้งแต่สมัยเซี่ย ซาง โจว ชุนชิว-จั้นกั๋ว จนมาเริ่มเป็นปึกแผ่นในสมัยฉินและฮั่น สมัยฮั่นนี่เองที่เริ่มมีคำเรียก 'ฮั่น' ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีความเชื่อตามแบบ[[ลัทธิเต๋า]]
 
ชาวฮั่นมีกิจกรรมด้านการเกษตรและหัตถกรรมที่เจริญก้าวหน้า อีกทั้งมีการประดิษฐ์[[เครื่องสำริด]] [[การถักทอ]] [[เครื่องเคลือบดินเผา]] [[สถาปัตยกรรม]] และศิลปะการวาดภาพที่เป็นหน้าตาของชนชาติมาตั้งแต่ยุคโบราณ นอกจากนี้ ยังรวมถึงผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่างๆต่าง ๆ ที่เป็นที่ยอมรับไปทั่วด้วย และที่ลืมไม่ได้ก็คือ การเป็นชนกลุ่มแรกของโลกที่ค้นพบและสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ 4 อย่าง คือ [[กระดาษ]] [[เทคนิคการพิมพ์]] [[เข็มทิศ]] และ[[ดินปืน]]
 
บุคคลสำคัญเชื้อสายฮั่นในแผ่นดินจีนไม่ว่าจะเป็นนักทฤษฎี นักปฏิวัติ นักการเมือง กวี ศิลปินต่าง ๆ ที่ถูกจารึกนามในหน้าประวัติศาสตร์จีนและของโลกที่เรารู้จักกันดี ได้แก่ [[ซุนยัตเซ็น|ดร.ซุนยัตเซ็น]] [[เหมาเจ๋อตง]] [[โจวเอินไหล]] [[หลิวเส้าฉี]] [[จูเต๋อ]] [[เติ้งเสี่ยวผิง]] [[หลู่ซวิ่น]] ฯลฯ ล้วนเป็นชาวฮั่นที่สร้างคุณูปการต่อลูกหลานชนชาวฮั่นในวันนี้
บรรทัด 162:
[[ไฟล์:汉族比例(2000年).png|thumb|แผนที่แสดงการอยู่อาศัยในจีนแผ่นดินใหญ่ (บริเวณที่มีสีน้ำเงินเข้มคือบริเวณที่ชาวฮั่นอยู่อาศัยเยอะและหนาแน่นที่สุด)]]
=== จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกงและมาเก๊า ===
ชาวฮั่นเกือบทั้งหมด มากกว่า 1,200 ล้านคน อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณภายใต้เขตอำนาจรัฐของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งชาวฮั่นคิดเป็น 92% ของจำนวนประชากร ภายในสาธารณรัฐประชาชนจีนชาวฮั่นเป็นประชากรส่วนใหญ่ในทุกๆทุก ๆ มณฑล, เทศบาลนครและเขตปกครองตนเอง ยกเว้นในเขตปกครองตนเองซินเจียง (41% ในปี 2000) และทิเบต (6% ในปี 2000) ชาวฮั่นยังเป็นประชากรส่วนใหญ่ในเขตบริหารพิเศษทั้งสองอีกด้วย ประมาณ 95% ของประชากรฮ่องกง และประมาณ 96% ของประชากรมาเก๊า ในประเทศจีน ชาวฮั่น จะเรียกตนเองว่า ชาวฮั่น ส่วนคำว่า จีน หรือ จ๊งกว๋อ นั่นเป็นชื่อของดินแดน หรือ ประเทศ ดังจะสังเกตได้จากบทเพลงและตำราต่างๆต่าง ๆ จะเรียกตัวเองว่า ชาวฮั่น ทั้งสิ้น
 
=== ไต้หวัน ===
[[File:艋舺龍山寺 臺北市 直轄市定古蹟寺廟 Venation 2.JPG|thumb|ชาวจีนฮั่นในไต้หวันขณะไหว้พระที่[[วัดหลงซาน|วัดเม่งเจียหลงซาน]]ในกรุง[[ไทเป]]]]
 
ชาวฮั่นมากกว่า 22 ล้านคนอยู่ในไต้หวัน ชาวฮั่นเริ่มอพยพจากมณฑลชายฝั่งทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่ไปไต้หวันในศตวรรษที่ 17 ในตอนแรกพวกผู้อพยพเหล่านี้เลือกที่จะตั้งถิ่นฐานในทำเลที่คล้ายคลึงกับพื้นที่ที่จากมาในจีนแผ่นดินใหญ่ ไม่ว่าพวกเขาจะมาถึงทางเหนือหรือทางใต้ของไต้หวัน ผู้อพยพชาวฮกโล่ในฉวนโจวตั้งถิ่นฐานบริเวณชายฝั่ง และพวกที่มาจากจางโจวมีแนวโน้วที่จะรวมกลุ่มกันบนที่ราบเข้าไปในแผ่นดิน ในขณะที่ผู้อพยพชาวฮากกาอาศัยบริเวณเนินเขา การกระทบทั่งกันระหว่างกลุ่มเหล่านี้เหนือดินแดน, น้ำและความแตกต่างทางวัฒนธรรมนำไปสู่การย้ายที่ใหม่ในบางชุมชน ในขณะที่เวลาผ่านไปการแต่งงานและการผสมกลมกลืนก็เกิดขึ้นในหลายระดับ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เมื่อไม่นานมานี้นำโดยเฉินชุนเชงแห่งแผนกจิตวิทยาของโรงพยาบาลเกาสงอ้างการศึกษา DNA ของชาวไต้หวันเปิดเผยประชากรหลายเปอร์เซนต์มีสายเลือดผสมระหว่างชาวฮั่นและชาวพื้นเมือง
 
=== พื้นที่อื่น ๆ ===
จากจำนวนชาวฮั่นนอกประเทศจีนประมาณ 40 ล้านคนทั่วโลก เกือบ 30 ล้านคนอาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิงคโปร์มีจำนวนประชากรชาวฮั่นเป็นประชากรส่วนใหญ่ที่มากสุดที่ 74% เกาะคริสต์มาสก็มีประชากรชาวฮั่นเป็นส่วนใหญ่ที่ 70% ประชากรชาวฮั่นจำนวนมากยังอาศัยอยู่ใน มาเลเซีย (25%), ใน ประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นชาวแต้จิ๋วซึ่งไม่ได้พูดภาษาฮั่น, อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ส่วนที่อื่นในโลกคนเชื้อสายฮั่น 3 ล้านคนอาศัยในสหรัฐอเมริกาซึ่งคิดเป็น 1% ของจำนวนประชากร, มากกว่า 1 ล้านคนในแคนาดา (3.7%), มากกว่า 1.3 ล้านคนในเปรู (4.3%), มากกว่า 6 แสนคนในออสเตรเลีย (3.5%), เกือบ 150,000 คนในนิวซีแลนด์ (3.7%) และ 750,000 คนในแอฟริกา
 
== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติ ==
=== ก่อนประวัติศาสตร์และพวกหัวเซี่ย ===
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ฮั่นสัมพันธ์อยู่กับประวัติศาสตร์ของจีนอย่างใกล้ชิด ชาวฮั่นตามรอยบรรพบุรุษของพวกเขากลับไปถึงชาวหัวเซี่ยซึ่งอาศัยอยู่ตลอดลำแม่น้ำฮวงโหหรือแม่น้ำเหลืองในจีนตอนเหนือ หนังสือ "บันทึกประวัติศาสตร์" ของนักประวัติศาสตร์จีนที่มีชื่อเสียง ซือหม่าเชียน จัดให้รัชสมัยของจักรพรรดิเหลืองซึ่งเป็นบรรพบุรุษในตำนานของชาวฮั่นไว้ในตอนเริ่มต้นของประวัติศาสตร์จีน แม้ว่าการศึกษาประวัติศาสตร์ในยุคนี้ยากที่จะเข้าใจเนื่องจากขาดแคลนบันทึกทางประวัติศาสตร์ การค้นพบแหล่งโบราณคดีได้ชี้ชัดการสืบต่อจากวัฒนธรรมนีโอลิทิค (ยุคหินใหม่) ตลอดลำแม่น้ำเหลือง โดยตลอดช่วงกลางของแม่น้ำเหลืองเป็นที่ตั้งของวัฒนธรรม Jiahu (70007,000 ถึง 66006,600 ปีก่อนคริสตกาล), วัฒนธรรม Yangshao (50005,000 ถึง 30003,000 ปีก่อนคริสตกาล), วัฒนธรรม Longshan (30003,000 ถึง 20002,000 ปีก่อนคริสตกาล) และตลอดแม่น้ำเหลืองตอนล่างเป็นที่ตั้งของวัฒนธรรม Qingliangang (54005,400 ถึง 40004,000 ปีก่อนคริสตกาล), วัฒนธรรม Dawenkou culture (43004,300 ถึง 25002,500 ปีก่อนคริสตกาล), วัฒนธรรม Longshan (25002,500 ถึง 20002,000 ปีก่อนคริสตกาล) และวัฒนธรรม Yueshi
 
=== ช่วงแรกของประวัติศาสตร์ ===
ราชวงศ์แรกที่ได้รับการพรรณาในบันทึกประวัติศาสตร์ของจีนคือราชวงศ์เซี่ย เป็นช่วงเวลาในตำนานเนื่องจากมีหลักฐานทางโบราณคดีไม่เพียงพอ พวกเขาถูกล้มล้างโดยคนจากทิศตะวันออกที่ก่อตั้งราชวงศ์ซาง (16001,600-10401,040 ปีก่อนคริสตกาล) ตัวอย่างทางโบราณคดีแรกสุดของอักษรจีนย้อนกลับไปถึงช่วงเวลานี้จากอักขระที่สลักบนกระดูกทำนายดวงชะตา เหล่าอักขระทำนายที่พัฒนาอย่างดีแล้วบอกใบ้ถึงจุดกำเนิดแรกเริ่มของตัวอักษรในจีน ในท้ายที่สุดพวกซางถูกล้มล้างโดยพวกโจว ซึ่งได้ปรากฏขึ้นเป็นรัฐแล้วแถวแม่น้ำเหลืองเมื่อสองพันปีก่อนคริสตกาล
 
พวกโจวเป็นผู้สืบทอดต่อมาจากพวกซางโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมร่วมกับชาวซาง พวกเขาได้ขยายอาณาเขตรวบรวมพื้นที่ส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของแม่น้ำแยงซี จากการเข้ายึดครองและครอบครอง พื้นที่ส่วนใหญ่แห่งนี้จึงตกอยู่ใต้อิทธิพลของการทำให้เป็นจีน และวัฒนธรรมจีนฮั่นต้นแบบก็แผ่ขยายไปทางใต้ อย่างไรก็ตามอำนาจของกษัตริย์โจวแตกเป็นเสี่ยงๆเสี่ยง ๆ และได้เกิดรัฐอิสระขึ้นมากมาย ในยุคนี้ได้ถูกแบ่งเป็นสองช่วงได้แก่ ยุคฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง (Spring and Autumn) และยุคสงครามรณรัฐ (Warring States) ช่วงเวลานี้เป็นยุคของการพัฒนาวัฒนธรรมและความคิดปรัชญาหลักๆหลัก ๆ รู้จักกันในชื่อว่า theThe Hundred Schools of Thought ในจำนวนหลักปรัชญาที่สำคัญที่สุดที่เหลือรอดจากยุคนี้คือหลักคำสอนของลักธิลัทธิเต๋าและขงจื๊อ
 
=== ประวัติศาสตร์จักรวรรดิ ===
บรรทัด 185:
[[File:China.Terracotta statues007.jpg|thumb|upright|รูปปั้นหญิงและชายชาวฮั่น ศิลปะกระเบื้องเซรามิกจากยุค[[ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก]]]]
 
ยุคของสงครามรณรัฐสิ้นสุดลงด้วยการรวมประเทศจีนโดยราชวงศ์ฉินหลังจากเอาชนะรัฐอริอื่นๆอื่น ๆ ทั้งหมด ผู้นำฉินสื่อหวงประกาศตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกตำแหน่งที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่แต่ได้เป็นแบบอย่างไปอีกสองพันปีข้างหน้า พระองค์สถาปนารัฐรวมศูนย์อำนาจขึ้นใหม่แทนระบบศักดินาเก่า สร้างระเบียบแบบแผนมากมายของจักรวรรดิจีน และรวมประเทศทั้งทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมโดยประกาศมาตรฐานหน่วยชั่งตวงวัด, ตัวอักษรและเงินตราเป็นหนึ่งเดียว
 
อย่างไรก็ตามรัชสมัยของราชวงศ์แรกอันเกรียงไกรก็อยู่ไม่นาน เนื่องจากกฎอาญาสิทธิ์ของจักรพรรดิองค์แรกและโครงการก่อสร้างขนาดมหึมาของพระองค์ เช่น กำแพงเมืองจีน ปลุกปั่นให้เกิดการก่อกบฏไปสู่ราษฏร ราชวงศ์ล่มสลายในไม่ช้าหลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต ราชวงศ์ฮั่น (260-220 ปีก่อนคริสตกาล) ปรากฏขึ้นจากความพยายามสืบทอดอำนาจและประสบความสำเร็จในการสถาปนาราชวงศ์ที่ยืนยาวกว่าขึ้น และได้สานต่อระเบียบแบบแผนจำนวนมากที่ได้สร้างโดยฉินสื่อหวงแต่บรรเทากฎเกณฑ์ต่างๆต่าง ๆ ลง ภายใต้ราชวงศ์ฮั่นศิลปะและวัฒนธรรมได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นมาก ในขณะที่ราชวงศ์แผ่ขยายอำนาจทางทหารไปทุกทิศทาง ช่วงเวลานี้ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์จีน ชาวฮั่นรับเอาชื่อมาจากราชวงศ์นี้นั่นเอง
 
การล่มสลายของราชวงศ์ฮั่นตามมาด้วยยุคแห่งการแตกแยกและอีกหลายศตวรรษแห่งความขัดแย้งท่ามกลางการสู้รบระหว่างอาณาจักรต่างๆต่าง ๆ ในช่วงเวลานี้พื้นที่ทางตอนเหนือของจีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายที่ไม่ใช่คนในแผ่นดินจีนซึ่งมาสถาปนาอาณาจักรของตัวเอง ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคืออาณาจักรเว่ยเหนือสถาปนาโดยเซียนเป่ย นับจากช่วงเวลานี้เป็นต้นไปที่ประชากรพื้นเมืองของจีนเริ่มถูกเรียกว่าชาวฮั่น หรือ คนของฮั่น เพื่อแบ่งแยกจากพวกเร่ร่อนจากทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ "ฮั่น" จึงหมายถึงราชวงศ์เก่า การสู้รบและการรุกรานนำมาซึ่งหนึ่งในการอพยพครั้งยิ่งใหญ่ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ราษฎรฮั่น ขณะที่เหล่าราษฏรหนีลงใต้ไปที่แม่น้ำแยงซีและเลยออกไปโดยค่อยๆค่อย ๆ เคลื่อนย้ายศูนย์รวมประชากรชาวฮั่นไปทางใต้ และเร่งกระบวนการทำให้เป็นฮั่นในภาคใต้อันห่างไกล ในเวลาเดียวกันทางตอนเหนือชนเผ่าเร่ร่อนส่วนใหญ่ในจีนตอนเหนือก็กลายเป็นจีน เมื่อพวกเขาปกครองเหนือชาวฮั่นจำนวนมากและรับเอาส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและการบริหารปกครองแบบฮั่น หมายเหตุ พวกผู้ปกครองชาวเซียนเป่ยแห่งอาณาจักรเว่ยเหนือได้ออกคำสั่งกำหนดนโนบายการทำให้เป็นฮั่นอย่างเป็นระบบโดยรับเอานามสกุลแบบฮั่น, ระเบียบแบบแผนและวัฒนธรรมไป
 
ราชวงศ์สุ่ย (581–618) และถัง (618–907) เห็นความต่อเนื่องของกระบวนการทำให้เป็นฮั่นอย่างสมบูรณ์ในชายฝั่งทางใต้ที่ตอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน รวมทั้งส่วนที่เป็นจังหวัดฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง ในตอนปลายราชวงศ์ถังรวมทั้งยุคห้าราชวงศ์ถัดมาประสบกับการสู้รบที่ต่อเนื่องยาวนานทางตอนเหนือและกลางของจีน ความมั่งคงของชายฝั่งทางใต้เมื่อเทียบกันแล้วทำให้เป็นจุดหมายที่น่าดึงดูดใจสำหรับผู้ลี้ภัย
บรรทัด 195:
อีกสองสามศตวรรษถัดมาต้องประสบกับการรุกรานอย่างต่อเนื่องของคนที่ไม่ใช่ฮั่นจากทางเหนือ เช่น พวก Khitan และ Jurchen ในปี 1279 พวกมองโกล (ราชวงศ์หยวน) ก็เอาชนะประเทศจีนได้ทั้งหมด นับเป็นครั้งแรกที่คนที่ไม่ใช่คนในแผ่นดินจีนจะทำเช่นนั้นได้ พวกมองโกลแบ่งสังคมออกเป็นสี่ชนชั้นโดยจัดให้พวกตัวเองอยู่ชั้นบนสุด และชาวฮั่นอยู่สองชั้นล่างสุด ส่วนราชวงศ์ซ่งและหยวนก็สั่งห้ามการอพยพเพราะเห็นว่าเป็นการไม่จงรักภักดีต่อบรรพบุรุษและแผ่นดินเกิด ถ้าจับได้ต้องถูกลงโทษอย่างรุนแรง
 
ในปี 1368 ผู้ต่อต้านชาวฮั่นขับไล่พวกมองโกลออกไป หลังจากขัดแย้งกันเองภายในพักหนึ่งก็ได้สถาปนาราชวงศ์หมิง (1368–1644) การตั้งถิ่นฐานของชาวฮั่นในภูมิภาครอบนอกยังคงดำเนินต่อไปในระหว่างช่วงเวลานี้ โดยมณฑลยูนนานทางตะวันตกเฉียงใต้รับผู้อพยพเป็นจำนวนมาก
 
[[File:Boxer queue.JPG|thumb|ในยุคหลังปี ค.ศ. 1644 [[ชาวแมนจู]]ได้เข้าครองแผ่นดินจีนและตั้ง[[ราชวงศ์ชิง]]ขึ้น ชาวฮั่นถูกบังคับให้โกนผมด้านหน้าและไว้หางเปียด้านหลังตามแบบชาวแมนจู]]
ในปี 1644 ปักกิ่งถูกยึดครองโดยกบฏชาวนานำโดย Li Zicheng และจักรพรรดิหมิงองค์สุดท้ายปลงพระชนม์ชีพพระองค์เอง พวกแมนจู (ราชวงศ์ชิง) ให้การสนับสนุนนายพลของราชวงศ์หมิงอู๋ซานกุ้ยและยึดกรุงปักกิ่งไว้ กองทัพหมิงที่เหลืออยู่นำโดยโคซิงกาจึงหนีไปไต้หวันที่ซึ่งในท้ายที่สุดพวกเขายอมจำนนต่อกองทัพชิงในปี 1683 เกาะไต้หวันที่ผู้อยู่อาศัยแต่เดิมส่วนใหญ่เป็นชาวพื้นเมืองที่ไม่ใช่ฮั่นถูกทำให้กลายเป็นฮั่นโดยผู้อพยพจำนวนมากประกอบกับการผสมกลมกลืนไปด้วยในช่วงเวลานี้ แม้ว่าจะมีความพยายามจากพวกแมนจูในการขัดขวางก็ตาม เนื่องจากพวกแมจูพบความยากลำบากในการควบคุมดูแลเกาะแห่งนี้ ในขณะเดียวกันพวกแมนจูก็ห้ามไม่ให้ชาวฮั่นอพยพไปแมนจูเรีย เพราะพวกแมนจูเห็นว่าเป็นฐานที่มั่นของราชวงศ์ ในปี 1681 พวกแมนจูจึงสั่งให้ก่อสร้างคูน้ำและทำนบเพื่อห้ามชาวฮั่นไม่ให้ตั้งถิ่นฐานเลยออกไปจากเขตนี้ ราชวงศ์ชิงเริ่มเข้าครอบครองแผ่นดินพร้อมชาวจีนฮั่นในภายหลังภายใต้กฎของราชวงศ์ การเคลื่อนย้ายชาวฮั่นครั้งนี้ไปแมนจูเรียถูกเรียกว่า Chuang Guandong (ในระหว่างราชวงศ์ก่อนๆก่อน ๆ การตั้งถิ่นฐานของชาวฮั่นในแมนจูเรียอยู่ทางตอนใต้เป็นหลัก ที่ซึ่งตอนนี้เป็นมณฑลเหลียวหนิง อย่างไรก็ตามในช่วงระหว่างและหลังจากปลายราชวงศ์ชิงชาวฮั่นได้ตั้งถิ่นฐานและกลายเป็นประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่เกือบทั้งหมดของแมนจูเรีย)
 
ในศตวรรษที่ 19 ผู้อพยพชาวฮั่นเป็นจำนวนมากอพยพไปส่วนอื่นๆอื่น ๆ ของโลก รวมทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ออสเตรเลีย และอเมริกาเหนือ
 
=== ประวัติเมื่อไม่นานมานี้ ===
ราชวงศ์ชิงถูกแทนที่โดยสาธารณรัฐจีนในปี 1912 ในปี 1942 สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ถูกก่อตั้งขึ้นภายหลังสิ่นสุดสงครามกลางเมือง ในขณะที่สาธารณรัฐจีนล่าถอยไปไต้หวัน ผู้ลี้ภัยประมาณหนึ่งล้านคนหนีไปด้วยทำให้ประชากรไต้หวันเพิ่มขึ้นอีก ในปี 1980 นโยบายลูกคนเดียวถูกนำมาใช้ในสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อควบคุมการเพิ่มจำนวนประชากร ซึ่งมีผลบังคับใช้กับชาวฮั่นเท่านั้น
 
การอพยพของชาวจีนไปโพ้นทะเลก็ได้ดำเนินต่อมาจนถึงศตวรรษที่ 20 และ 21 การกลับมาของฮ่องกงสู่การปกครองของจีนในปี 1977 ก่อให้เกิดคลื่นอพยพขนาดใหญ่ของชาวจีนฮ่องกงไปอเมริกาเหนือ, ออสเตรเลีย และที่อื่นๆอื่น ๆ ชาวจีนไปปรากฏอยู่ในยุโรปเช่นเดียวกับในรัสเซียโดยเฉพาะอย่างยิ่งตะวันออกไกลของรัสเซียด้วย
 
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:Along the River During the Qingming Festival (detail of original).jpg|thumb|''ริมแม่น้ำในเทศกาลชิงหมิง'' เก็บภาพบรรยากาศการใช้ชีวิตของผู้คนจากยุคซ่งในเมืองหลวง เบียนจิง, เมืองไคฟงในทุกวันนี้]]
จีนเป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่และซับซ้อนที่สุดของโลก วัฒนธรรมจีนย้อนกลับไปได้นับพันๆพัน ๆ ปี ชาวฮั่นบางส่วนเชื่อว่าพวกเขาล้วนมีบรรพบุรุษร่วมกัน
ซึ่งเล่าปรัมปราถึงหัวหน้าชนเผ่าอาวุโส จักรพรรดิเหลืองและจักรพรรดิยันเมื่อหลายพันปีก่อน ดังนั้นชาวฮั่นบางส่วนจึงเรียกตนเองว่า "ลูกหลานของจักรพรรดิเหลืองและเหยียน" วลีที่มีความหมายโดยนัยสะท้อนบรรยากาศการเมืองที่แตกแยกดังในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวัน
ตลอดประวัติศาสตร์ของจีน วัฒนธรรมของจีนได้รับอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงจากลัทธิขงจื้อ ซึ่งได้สร้างรูปแบบความคิดแบบจีนมากมาย ลัทธิขงจื้อเป็นหลักปรัชญาอย่างเป็นทางการตลอดช่วงประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ของจีนยุคจักรวรรดิ ความรอบรู้ในหลักคำสอนของขงจื้อคือหลักเกณฑ์อันแรกสำหรับการสอบเข้ารับราชการ
บรรทัด 215:
=== ภาษา ===
[[ไฟล์:Map of sinitic languages full-th.svg|alt=|thumb|295x295px|แผนที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มชาวฮั่นที่พูดสำเนียงภาษาจีนท้องถิ่นต่าง ๆ ใน[[ประเทศจีน]]]]
ชาวจีนพูดภาษาหลากหลายแบบ หนึ่งในชื่อของกลุ่มภาษานั้นคือ "ฮั่นอวี่" หมายถึงภาษาฮั่น (อวี่ แปลว่า ภาษา) ในทำนองเดียวกันอักษรจีนที่ใช้เขียนภาษาเรียกว่า "ฮั่นจื่อ" หรืออักษรฮั่น (จื่อ แปลว่าตัวหนังสือ)ในขณะที่มีภาษาถิ่นอยู่มากมายแต่ภาษาเขียนมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอย่างมาก ความเป็นเอกภาพนี้ต้องยกให้ราชวงศ์ฉินซึ่งได้สร้างมาตรฐานให้กับรูปแบบการเขียนอันหลากหลายของจีนในยุคนั้น เป็นเวลานับพันๆพัน ๆ ปีภาษาเขียนโบราณ (Classical Chinese) ถูกใช้เป็นรูปแบบการเขียนมาตรฐานในหมู่ปัญญาชนซึ่งใช้คำศัพท์และหลักไวยากรณ์ซึ่งอาจแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญกับภาษาพูดอันหลากหลาย
 
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ภาษาเขียนมาตรฐาน หรือ ภาษาเขียนสมัยใหม่ (Written Vernacular Chinese) ที่มีรากฐานจากภาษาฮั่นปักกิ่งซึ่งได้พัฒนาขึ้นสองสามร้อยปีมาแล้ว ถูกทำให้เป็นมาตรฐานและรับเข้ามาใช้เพื่อแทนที่ภาษาเขียนโบราณ ในขณะที่รูปแบบการเขียนสมัยใหม่ในภาษาจีนอื่นๆอื่น ๆ เช่น ภาษาเขียนกวางตุ้ง ยังมีอยู่ แต่ภาษาเขียนแบบปักกิ่งเป็นที่เข้าใจกว้างขวางกว่าในหมู่ผู้พูดภาษาจีนทั้งหมดและมีความสำคัญกว่าในพวกภาษาเขียนซึ่งก่อนหน้านี้เคยใช้โดยภาษาเขียนโบราณ ดังนั้นแม้ว่าผู้อาศัยในภูมิภาคต่างๆต่างิๆ ไม่มีความจำเป็นต้องเข้าใจคำพูดของกันและกัน เพราะพวกเขาใช้ภาษาเขียนร่วมกัน
 
ต้นทศวรรษที่ 1950 อักษรฮั่นตัวย่อถูกรับเข้ามาใช้ในจีนแผ่นดินใหญ่และต่อมาในสิงคโปร์ ในขณะที่ชุมชนชาวจีนอื่นๆอื่น ๆ ในฮ่องกง, มาเก๊า, สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และจีนโพ้นทะเล ยังใช้อักษรฮั่นตัวเต็มต่อไป ในขณะเดียวกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญอยู่ระหว่างชุดอักษรทั้งคู่ ซึ่งไม่สามารถเข้าใจกันได้อยู่เป็นจำนวนมาก
 
===การแบ่งภาษาตามท้องถิ่น===
บรรทัด 231:
=== การแต่งกาย ===
[[File:Traditional chinese wedding 002.jpg|250px|thumb|พิธีแต่งงานแบบชาวฮั่น]]
ทุกวันนี้ชาวฮั่นทั่วไปสวมใส่เสื้อผ้าตามแบบตะวันตก ส่วนน้อยสวมใส่เสื้อผ้าแบบชาวฮั่นดั้งเดิมเป็นประจำ อย่างไรก็ตามชุดแบบจีนสงวนไว้สำหรับ เครื่องแต่งกายในศาสนาและพิธีการ ตัวอย่างเช่น พระในลัทธิเต๋าสวมใส่ชุดเดียวกับบัณฑิตในสมัยราชวงศ์ฮั่น ชุดพิธีการในญี่ปุ่นอย่างเช่นพระในลัทธิชินโตเหมือนมากกับชุดพิธีการในจีนในสมัยราชวงศ์ถัง ในปัจจุบันชุดจีนแบบดั้งเดิมที่นิยมมากที่สุดสวมใส่โดยหญิงสาวมากมายในโอกาสสำคัญๆสำคัญ ๆ เช่น งานแต่งงานและงานปีใหม่เรียกว่ากี่เพ้า อย่างไรก็ตามเครื่องแต่งกายเหล่านี้ไม่ใช่มาจากชาวฮั่นแต่มาจากการดัดแปลงชุดแต่งกายของชาวแมนจู ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ปกครองประเทศจีนระหว่างศตวรรษที่ 17 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
<center>
<gallery mode="nolines" widths="190" heights="150">
บรรทัด 240:
</center>
=== ที่อยู่อาศัย ===
บ้านแบบฮั่นแตกต่างจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ชาวฮั่นในปักกิ่งอาศัยรวมกันทั้งครอบครัวในบ้านหลังใหญ่ที่มีลักษณะสี่เหลี่ยม บ้านแบบนี้เรียกว่า 四合院 บ้านเหล่านี้มีสี่ห้องทางด้านหน้าได้แก่ ห้องรับแขก, ครัว, ห้องน้ำ และส่วนของคนรับใช้ ข้ามจากประตูคู่บานใหญ่คือส่วนสำหรับผู้สูงอายุในครอบครัว ส่วนนี้ประกอบด้วยสามห้อง ห้องกลางสำหรับสักการะแผ่นจารึก 4 แผ่นได้แก่ สวรรค์, โลกมนุษย์, บรรพบุรุษ และอาจารย์ มีสองห้องที่อยู่ติดทางด้านซ้ายและขวาเป็นห้องนอนสำหรับปู่ย่าตายาย ส่วนด้านตะวันออกของบ้านสำหรับลูกชายคนโตกับครอบครัว ในขณะที่ด้านตะวันตกสำหรับลูกชายคนรองกับครอบครัว แต่ละด้านมีเฉลียงบางบ้านมีห้องรับแสงแดดสร้างจากผ้ามีโครงเป็นไม้หรือไม้ไผ่ ทุกๆทุก ๆ ด้านของบ้านสร้างอยู่ล้อมรอบลานบ้านตรงกลางสำหรับเล่าเรียน, ออกกำลังกายหรือชมวิวธรรมชาติ
 
== "ฮั่น" แนวคิดที่เปลี่ยนไปมา ==