ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
ส่วนขุนวิจิตรมาตรา หลังจากกำกับภาพยนตร์เรื่อง "หลงทาง" แล้วก็ได้ ร่วมงานกับ[[บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง]]มาโดยตลอด สร้างผลงานที่น่าจดจำไว้หลายเรื่อง ทั้งภาพยนตร์ข่าวสารคดี และภาพยนตร์บันเทิงคดีอาทิเช่น ภาพยนตร์บันทึกเหตุการณ์ ฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 150 ปี (2475) ภาพยนตร์บันทึกเหตุการณ์ [[สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทาน[[รัฐธรรมนูญ]] (2475) ซึ่งทั้งสองเรื่องเป็นภาพยนตร์ ประเภทข่าวสารคดี ส่วนภาพยนตร์บันเทิงคดีที่โดดเด่น อาทิ ภาพยนตร์เรื่อง "ปู่โสมเฝ้าทรัพย์" (2476) ซึ่งเป็นภาพยนตร์ที่มีการย้อมสีเป็นบางฉากเรื่องแรกของไทย ต่อมาภาพยนตร์เรื่อง "เลือดทหารไทย" (2477) ภาพยนตร์ที่แสดงแสนยานุภาพ ของ[[กองทัพไทย]] ซึ่งบริษัทศรีกรุงได้รับการว่าจ้าง จาก[[กระทรวงกลาโหม]]ให้สร้าง หรือภาพยนตร์เรื่อง "เพลงหวานใจ" (2480) ภาพยนตร์เพลงที่ลงทุนสูง เป็นประวัติการณ์ของศรีกรุง โดยเฉพาะการเนรมิตฉาก ประเทศสมมุติ ซานคอซซาร์ให้ดูสมจริง
 
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. 2475 คณะราษฎร์ได้ประกาศใช้เพลงชาติมหาชัย ซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดย [[เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)]] ต่อมาจึงได้เปลี่ยนมาเป็นเพลงชาติฉบับที่แต่งทำนองโดยพระเจนดุริยางค์ เมื่อแรกๆ นั้น ได้ใช้คำร้องของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธ์) ประพันธ์ เป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ห้า ใช้เป็นเพลงชาติระหว่างปี พ.ศ. 2475-2477
 
ในปี [[พ.ศ. 2485]] ได้เกิดสงครามมหาเอเซียบูรพาขึ้น สร้างความเดือดร้อน เกิดภาวะขาดแคลนขึ้น ในอุตสาหกรรม ทุกระดับไม่เว้นแม้แต่ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ทำให้ฟิล์มภาพยนตร์น้อยลงไป ภาพยนตร์ที่สร้างออกฉายส่วนใหญ่เป็นภาพยนตร์ที่สร้างโดยรัฐบาล มีเนื้อหาปลุกใจให้รักชาติทั้งหมด ซึ่งหนึ่งในภาพยนตร์ที่โดดเด่น ในปีนั้นคือภาพยนตร์เรื่อง "บ้านไร่นาเรา" ในภาพยนตร์เรื่องนี้ ขุนวิจิตรมาตรามีหน้าที่ใน การประพันธ์ เนื้อเรื่องโดยท่านได้ผูกเอาเรื่องราว ของชาวนาเข้ากับอุดมการณ์รักชาติ อันสอดคล้องกับนโยบาย การบริหารประเทศของ [[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]ผู้นำประเทศ ในสมัยนั้น นอกจากประพันธ์บทแล้ว ท่านยังได้ประพันธ์เพลงประกอบ ด้วยซึ่งบทเพลง "บ้านไร่นาเรา" โดย[[พระเจนดุริยางค์]]เป็นผู้ประพันธ์ทำนองในแนวของความขยันขันแข็งในการทำงาน บ้านเมืองอุดมสมบูรณ์และเป็นเพลงที่[[สำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ]]ยกย่องว่า เป็น[[เพลงลูกทุ่ง]] เพลงแรกในงานวันเพลงลูกทุ่ง เพลงนี้ได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน
 
ภายหลังจาก
ภายหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยุติลงในปี พ.ศ. 2488 เป็นยุคที่[[ภาพยนตร์ไทย]] มีลักษณะเป็นฟิล์ม 16 มิลลิเมตร และการพากย์แทน ภาพยนตร์ 35 มิลลิเมตรมาตรฐานเสียงในฟิล์ม ในช่วงนี้ ขุนวิจิตรมาตรา ก็ยุติการสร้างภาพยนตร์ลงตามไปด้วย อย่างไรก็ตามท่านก็มิอาจตัดขาด จากภาพยนตร์ ได้นานนัก ก็ต้องวนกลับมาทำภาพยนตร์ อีกครั้งในปี [[พ.ศ. 2495]] เรื่อง "ทะเลรัก" ซึ่งอำนวยการสร้างโดย นาย [[เสวตร์ เปี่ยมพงศ์สานต์]] หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2496 ท่านได้สร้าง ภาพยนตร์อีกหนึ่งเรื่องชื่อ " วารุณี " ซึ่งท่านดัดแปลง มาจากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่ท่านได้ ประพันธ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2469 ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องเป็นภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตรบันทึกเสียงลงในฟิล์ม ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องนี้ ประสพความสำเร็จพอสมควร แต่ท่านก็ไม่สร้าง ภาพยนตร์ต่ออีกเลยเป็นเวลา 16 ปี
 
 
จนกระทั่งปี [[พ.ศ. 2512]] บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง ได้กลับมาสร้างภาพยนตร์อีกครั้ง ภายหลังจากปิดกิจการลงใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จึงได้เชิญขุนวิจิตรมาตรา มาเป็นที่ปรึกษาของบริษัท แต่บริษัทศรีกรุงไม่สามารถสู้กับกระแสภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตร ซึ่งกำลังแรงอยู่ไปได้ ดังนั้นภายหลังจาก สร้างภาพยนตร์ออกมาได้ไม่กี่เรื่อง บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง ก็จำต้องปิดกิจการลงในปี [[พ.ศ. 2514]]
ภายหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยุติลงในปี พ.ศ. 2488 เป็นยุคที่[[ภาพยนตร์ไทย]] มีลักษณะใช้เป็นฟิล์ม 16 มิลลิเมตร และการพากย์แทน ภาพยนตร์ 35 มิลลิเมตรมาตรฐานเสียงในฟิล์ม ในช่วงนี้[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยุติลงในปี พ.ศ. 2488 ขุนวิจิตรมาตรา ก็ยุติการสร้างภาพยนตร์ลงตามไปด้วย อย่างไรก็ตามท่านก็มิอาจตัดขาด จากภาพยนตร์ ได้นานนัก ก็ต้องวนกลับมาทำภาพยนตร์ อีกครั้งในปี [[พ.ศ. 2495]] เรื่อง "ทะเลรัก" ซึ่งอำนวยการสร้างโดย นาย [[เสวตร์ เปี่ยมพงศ์สานต์]] หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2496 ท่านได้สร้าง ภาพยนตร์อีกหนึ่งเรื่องชื่อ " วารุณี " ซึ่งท่านดัดแปลง มาจากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่ท่านได้ ประพันธ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2469 เรื่อง " วารุณี " ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องเป็นภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตรบันทึกเสียงลงในฟิล์ม ภาพยนตร์ทั้งสองเรื่องนี้ ประสพความสำเร็จพอสมควร แต่ท่านก็ไม่สร้าง ภาพยนตร์ต่ออีกเลยเป็นเวลา 16 ปี
 
จนกระทั่งปี [[พ.ศ. 2512]] บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง ได้กลับมาสร้างภาพยนตร์อีกครั้งในปีปี [[พ.ศ. 2512]] ภายหลังจากปิดกิจการลงใน ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จึงได้เชิญขุนวิจิตรมาตรา มาเป็นที่ปรึกษาของบริษัท แต่บริษัทศรีกรุงไม่สามารถสู้กับกระแสภาพยนตร์ 16 มิลลิเมตร ซึ่งกำลังแรงอยู่ไปได้ ดังนั้นภายหลังจาก สร้างภาพยนตร์ออกมาได้ไม่กี่เรื่อง บริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง ก็จำต้องปิดกิจการลงในปี [[พ.ศ. 2514]]
 
สำหรับขุนวิจิตรมาตรา ภายหลังจากร่วมงานกับบริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุงในครั้งนั้นก็ไม่ได้ข้องเแวะกับการสร้างภาพยนตร์อีกเลย จวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เมื่อวันที่ [[2 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2523]] มีอายุได้ 83 ปี