ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศฟิลิปปินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8093992 สร้างโดย 1.0.153.6 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 66:
| footnotes = * [[ภาษาเซบัวโน]] [[ภาษาอีโลกาโน]] [[ภาษาฮิลิไกนอน]] [[ภาษาบิโกล]] [[ภาษาวาไร-วาไร]] [[ภาษากาปัมปางัน]] [[ภาษาปางาซินัน]] [[ภาษากินาไรอา]] [[ภาษามาราเนา]] [[ภาษามากินดาเนา]] [[ภาษาตากาล็อก]] และ[[ภาษาเตาซุก]] เป็นภาษาทางการช่วยในภูมิภาคต่าง ๆ ส่วน[[ภาษาสเปน]]และ[[ภาษาอาหรับ]] ถือเป็นภาษาทางเลือก และพื้นฐานตามความสมัครใจ}}
 
'''ฟิลิปปินส์''' ({{lang-en|Philippines}}; {{lang-fil|Pilipinas}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐฟิลิปปินส์''' ({{lang-en|Republic of the Philippines}}; {{lang-fil|Republika ng Pilipinas}}) เป็น[[ประเทศที่เป็นเกาะ|ประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะ]]ในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ตั้งอยู่ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ<ref>{{cite news|url=http://cnnphilippines.com/videos/2016/02/20/More-islands-more-fun-in-PH.html|title=More islands, more fun in PH|publisher=''[[CNN Philippines]]''|date=February 20, 2016|accessdate=February 20, 2016}}</ref> ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ [[ลูซอน]], [[วิซายัส]] และ[[มินดาเนา]] เมืองหลวงของประเทศคือ[[มะนิลา]] ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือ[[เกซอนซิตี|นครเกซอน]] ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของ[[เมโทรมะนิลา]]<ref>{{cite web|url=http://www.mmda.gov.ph/|title=Metro Manila Official Website|work=Metro Manila Development Authority|accessdate=December 17, 2015}}</ref> ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับ[[ทะเลจีนใต้]]ทางทิศตะวันตก [[ทะเลฟิลิปปิน]]ทางทิศตะวันออก และ[[ทะเลเซเลบีส]]ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับ[[ไต้หวัน]]ทางทิศเหนือ [[ปาเลา]]ทางทิศตะวันออก [[มาเลเซีย]]และ[[อินโดนีเซีย]]ทางทิศใต้ และ[[เวียดนาม]]ทางทิศตะวันตก
 
ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบ[[วงแหวนไฟ]]และใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์)<ref>{{cite web|url=http://www.geoba.se/population.php?aw=world|title=Geoba.se: Gazetteer – The World – Top 100+ Countries by Area – Top 100+ By Country ()|work=geoba.se|accessdate=December 17, 2015}}</ref> และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน<ref>{{cite web|url=https://www.theguardian.com/world/2014/jul/27/philippines-chonalyn-baby-100m-population|title=Philippines joyous as baby Chonalyn's arrival means population hits 100m|work=the Guardian}}</ref><ref name="rappler.com">{{cite web|url=http://www.rappler.com/nation/64465-100-millionth-filipino-born|title=Philippine population officially hits 100 million|work=Rappler}}</ref> นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร|ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก]] นอกจากนี้ ณ ปี พ.ศ. 2556 ยังมีชาวฟิลิปปินส์อีกประมาณ 10 ล้านคนอาศัยอยู่ในต่างประเทศ<ref name="CFO2013">{{cite web|url=http://www.cfo.gov.ph/images/stories/pdf/StockEstimate2013.pdf|title=Stock Estimate of Filipinos Overseas As of December 2013|publisher=Philippine Overseas Employment Administration|accessdate=2015-09-19}}</ref> รวมแล้วถือเป็นกลุ่ม[[การพลัดถิ่น|คนพลัดถิ่น]]ที่ใหญ่ที่สุดกลุ่มหนึ่งของโลก ความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมปรากฏให้เห็นตลอดทั้งหมู่เกาะ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์กลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งรกรากในหมู่เกาะแห่งนี้คือ[[กลุ่มชนนิกรีโต]] ตามมาด้วย[[กลุ่มชนออสโตรนีเซียน]]ที่อพยพเข้ามาอย่างต่อเนื่อง<ref name="Dyen1965">{{cite journal |author=Isidore Dyen|authorlink=Isidore Dyen|title=A Lexicostatistical Classification of the Austronesian Languages|journal=Internationald Journal of American Linguistics, Memoir|year=1965|volume=19|pages=38–46}}</ref> มีการติดต่อแลกเปลี่ยนกับชาวจีน มลายู อินเดีย และอาหรับ จากนั้นก็เกิดนครรัฐทางทะเลขึ้นมาหลายแห่งภายใต้การปกครองของ[[ดาตู]], [[ลากัน]], [[ราจา|ราชา]] หรือ[[สุลต่าน]]
 
[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] ได้มาขึ้นฝั่งที่[[เกาะโฮโมนโฮน]] (ใกล้กับ[[เกาะซามาร์]]) ในปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1521) นับเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแห่งอิทธิพลและอำนาจของสเปน ในปี พ.ศ. 2085 (ค.ศ. 1542) นักสำรวจชาวสเปนชื่อ [[รุย โลเปซ เด บิยาโลโบส]] ได้ตั้งชื่อ[[เกาะซามาร์]]และ[[เกาะเลเต|เลเต]]รวมกันว่า "หมู่เกาะเฟลีเป" หรือ "อิสลัสฟิลิปินัส" ({{lang|es|''Islas Filipinas''}}) เพื่อเป็นเกียรติแด่[[พระเจ้าเฟลีเปที่ 2 แห่งสเปน|เจ้าชายเฟลีเปแห่งอัสตูเรียส]] (ต่อมา อิสลัสฟิลิปินัสได้กลายเป็นชื่อเรียกกลุ่มเกาะทั้งหมด) ในปี พ.ศ. 2108 (ค.ศ. 1565) [[มิเกล โลเปซ เด เลกัซปี]] ได้จัดตั้งนิคมสเปนแห่งแรกบน[[เกาะเซบู]]<ref>{{cite web |url=http://www.cebucitytour.com/about-cebu/history/ |title= History of Cebu |publisher= Cebu City Tour |accessdate=February 22, 2013}}</ref> ฟิลิปปินส์กลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิสเปน]]เป็นเวลานานกว่า 300 ปี ส่งผลให้ศาสนาคริสต์นิกาย[[โรมันคาทอลิก]]กลายเป็นศาสนาหลักของผู้คนในหมู่เกาะ ในช่วงเวลานี้ มะนิลามีฐานะเป็นศูนย์กลางการบริหารของจักรวรรดิสเปนใน[[เอเชีย]] และยังเป็นศูนย์กลางทางทิศตะวันตกของการค้าข้ามมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเชื่อมโยงเอเชียเข้ากับเมือง[[อากาปุลโก]]ใน[[ทวีปอเมริกา|อเมริกา]]ผ่านทาง[[เรือใบมะนิลา]]<ref name=Kane>{{cite book|last = Kane|first = Herb Kawainui|authorlink = Herb Kawainui Kane|editor = Bob Dye|chapter = The Manila Galleons|title = Hawaiʻ Chronicles: Island History from the Pages of Honolulu Magazine|volume = I|publisher = [[University of Hawaii Press]]|year = 1996|location = Honolulu|pages = 25–32|isbn = 0-8248-1829-6}}</ref>
บรรทัด 88:
 
=== ยุคอาณานิคมสเปน ===
[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] มาถึงหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. 1521 ([[พ.ศ. 2064]]) [[มีเกล โลเปซ เด เลกัซปี]] มาถึงฟิลิปปินส์ในปี ค.ศ. 1565 ([[พ.ศ. 2108]]) และตั้งชุมชน[[ชาวสเปน]]ขึ้น ซึ่งนำไปสู่การตั้งอาณานิคมในเวลาต่อมา หลังจากนั้น นักบวชศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกได้แปรศาสนาของชาวเกาะทั้งหมดให้หันมานับถือศาสนาคริสต์ ในช่วง 300 ปีนับจากนั้น กองทัพสเปนได้ต่อสู้กับเหตุการณ์กบฏต่าง ๆ มากมาย ทั้งจากชนพื้นเมืองและจากชาติอื่นที่พยายามเข้ามาครอบครองอาณานิคม ซึ่งได้แก่ [[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]] [[จีน]] [[ฮอลันดา]] [[ฝรั่งเศส]] [[ญี่ปุ่น]] และ[[โปรตุเกส]] สเปนสูญเสียไปมากที่สุดในช่วงที่อังกฤษเข้าครอบครองเมืองหลวงเป็นการชั่วคราวในช่วง[[สงครามเจ็ดปี]] (Seven Years' War) หมู่เกาะฟิลิปปินส์อยู่ใต้การปกครองของสเปนในฐานะอาณานิคมของ[[สเปนใหม่]] (New Spain) นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1565 (พ.ศ. 2108) ถึงปี ค.ศ. 1821 (พ.ศ. 2364) และนับจากนั้นฟิลิปปินส์ก็อยู่ใต้การปกครองของสเปนโดยตรง [[การเดินเรือมะนิลาแกลเลียน]] (Manila Galleon) จากฟิลิปปินส์ไป[[เม็กซิโก]] เริ่มต้นขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 และหมู่เกาะฟิลิปปินส์เปิดตัวเองเข้าสู่[[การค้าโลก]]ในปี ค.ศ. 1834
 
=== รัฐอารักขาของสหรัฐอเมริกา ===
บรรทัด 107:
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
ฟิลิปปินส์แบ่งเป็นหน่วยรัฐบาลท้องถิ่น (local government units, LGUs) โดยที่มีจังหวัดเป็นหน่วยหลัก ปัจจุบันมี '''81 จังหวัด (provinces) ''' แบ่งออกเป็น '''นคร (cities) ''' และ '''เทศบาล (municipalities) ''' ซึ่งหน่วยการปกครองทั้งสองยังประกอบไปด้วย '''บารังไกย์ (barangay) ''' อีกทอดหนึ่ง ถือเป็นหน่วยรัฐบาลท้องถิ่นที่เล็กที่สุด
 
ฟิลิปปินส์แบ่งออกเป็น '''17 เขต (regions) ''' ซึ่งทุกจังหวัดได้ถูกจัดอยู่ใน 16 เขตเพื่อความสะดวกในการปกครอง ยกเว้นเขตนครหลวง (National Capital Region) ที่แบ่งออกเป็นเขตพิเศษ 4 แห่ง
 
หน่วยงานของรัฐบาลส่วนใหญ่จะตั้งสำนักงานในแต่ละภูมิภาค เพื่อรับใช้ประชาชนในจังหวัดที่อยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ ภูมิภาคไม่มีรัฐบาลท้องถิ่นแยกต่างหาก ยกเว้น[[เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม]]และ[[เขตบริหารคอร์ดิลเลรา]]ซึ่งปกครองตนเอง ไม่ได้ให้ผู้อื่นปกครอง
บรรทัด 257:
=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===
[[ไฟล์:Bohol Tarsier.jpg|thumb|[[ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน]] หนึ่งใน[[ไพรเมต]]ที่เล็กที่สุด]]
ป่าดิบชื้นและชายฝั่งทะเลที่กว้างขวางของฟิลิปปินส์ทำให้กลุ่มเกาะนี้เป็นแหล่งรวมนก พืช สัตว์ และสิ่งมีชีวิตในทะเลหลากชนิด<ref name="etravel">[http://www.etravelpilipinas.com/about_philippines/philippine_natural_resources.htm "Natural Resources and Environment in the Philippines"]. (n.d.). ''eTravel Pilipinas''. Retrieved January 22, 2009.</ref> ฟิลิปปินส์เป็นหนึ่งในสิบเจ็ดประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country)<ref name=Chanco>{{cite news|url=http://gbgm-umc.org/asia-pacific/philippines/ecophil.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20010711225954/http://gbgm-umc.org/asia-pacific/philippines/ecophil.html|archivedate=2001-07-11 |author=Chanco, Boo. |title=The Philippines Environment: A Warning |newspaper=The Philippine Star |date=December 7, 1998}} Retrieved February 15, 2010 from gbgm-umc.org.</ref><ref name="AUSGOP">{{Cite journal|url=http://www.environment.gov.au/soe/2001/publications/theme-reports/biodiversity/biodiversity01-3.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20070514125559/http://www.environment.gov.au/soe/2001/publications/theme-reports/biodiversity/biodiversity01-3.html|archivedate=May 14, 2007|title=Biodiversity Theme Report: The Meaning, Significance and Implications of Biodiversity (continued)|author = Williams, Jann|author2 = Cassia Read|author3 = Tony Norton|author4 = Steve Dovers|author5 = Mark Burgman|author6 = Wendy Proctor|author7 = Heather Anderson|last-author-amp = yes|publisher=CSIRO on behalf of the Australian Government Department of the Environment and Heritage|year=2001|isbn=0-643-06749-3|accessdate=November 6, 2009}}</ref><ref name="Carpenter">{{cite journal|author1=Carpenter, Kent E. |author2=Victor G. Springer |lastauthoramp=yes |title=The center of the center of marine shore fish biodiversity: the Philippine Islands|journal=Environmental Biology of Fishes|publisher=Springer Netherlands|date=April 2005|volume=74|issue=2|pages=467–480|doi=10.1007/s10641-004-3154-4}}</ref> เราสามารถพบสัตว์บกที่มีกระดูกสันหลังได้ถึงประมาณ 1,100 ชนิด ซึ่งรวมถึง[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]กว่า 100 ชนิด และนกกว่า 170 ชนิดที่คาดกันว่าไม่อาศัยอยู่ที่อื่น<ref name="lonelyplanet">{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=aaUR07G0yAcC|title=Philippines|author1=Rowthorn, Chris |author2=Greg Bloom |lastauthoramp=yes |edition=9th|publisher=[[Lonely Planet]]|year=2006|page=[https://books.google.com/books?id=aaUR07G0yAcC&pg=PA52 52]|isbn=1-74104-289-5}}</ref> ฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีอัตราการค้นพบสูงที่สุดประเทศหนึ่งในโลก โดยมีการค้นพบสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใหม่ 16 ชนิดในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุนี้ อัตราสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่นของฟิลิปปินส์จึงเพิ่มสูงขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มต่อไป<ref>{{cite web|url=http://www.eoearth.org/article/Biological_diversity_in_the_Philippines |title=Biological diversity in the Philippines |publisher=Eoearth.org |accessdate=May 4, 2013}}</ref> ส่วนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพื้นถิ่นฟิลิปปินส์ได้แก่ [[อีเห็นข้างลาย]] (''Paradoxurus hermaphroditus''), [[แมวดาววิซายัส]] (''Prionailurus javanensis rabori''), [[พะยูน]] (''Dugong dugon'') และ[[ทาร์เซียร์ฟิลิปปิน]] (''Tarsius syrichta'') ซึ่งเกี่ยวข้องกับ[[เกาะโบโฮล]] เป็นต้น
 
แม้ว่าบนหมู่เกาะฟิลิปปินส์จะไม่มีผู้ล่าเหยื่อเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ แต่ก็มี[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ขนาดใหญ่อยู่บางชนิด เช่น [[วงศ์งูเหลือม|งูเหลือม]] [[งูเห่า]] รวมทั้ง[[จระเข้น้ำเค็ม]]ขนาดยักษ์ จระเข้น้ำเค็มในที่เลี้ยงตัวใหญ่ที่สุดในโลกมีชื่อว่า [[โลลอง]] ถูกจับได้ใน[[เกาะมินดาเนา]]ทางตอนใต้ของประเทศ<ref>{{cite web|title="Lolong" holds world record as largest croc in the world |url=http://www.pawb.gov.ph/index.php?option=com_content&view=article&id=480:lolong-holds-world-record-as-largest-croc-in-the-world&catid=22:news&Itemid=131 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120126140938/http://www.pawb.gov.ph/index.php?option=com_content&view=article&id=480%3Alolong-holds-world-record-as-largest-croc-in-the-world&catid=22%3Anews&Itemid=131 |dead-url=yes |archive-date=January 26, 2012 |work=Protected Areas and Wildlife Bureau |accessdate=June 23, 2012 |date=November 17, 2011 |df= }}</ref><ref>{{cite web|last=Britton|first=Adam|title=Accurate length measurement for Lolong|url=http://crocodilian.blogspot.com.au/2011/11/accurate-length-measurement-for-lolong.html|work=Croc Blog|accessdate=June 23, 2012|date=November 12, 2011}}</ref>
บรรทัด 269:
=== ภูมิอากาศ ===
[[ไฟล์:Haiyan Nov 7 2013 1345Z.png|thumb|170px|upright|[[พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน|ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน]] (ในฟิลิปปินส์เรียกว่า ''โยลันดา'') ขณะมีกำลังแรงสูงสุด]]
ฟิลิปปินส์อยู่ในเขต[[ภูมิอากาศ]]ภาคพื้นสมุทรเขตร้อนซึ่งโดยปกติจะมีอากาศร้อนและชื้น มีฤดูกาล 3 ฤดูกาล ได้แก่ ''ตักอีนิต'' ({{lang|tl|''tag-init''}}) หรือ ''ตักอาเรา'' ({{lang|tl|''tag-araw''}}) ซึ่งเป็นฤดูร้อนหรือฤดูที่มีอากาศแห้งร้อนตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม, ''ตักอูลัน'' ({{lang|tl|''tag-ulan''}}) หรือฤดูฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤศจิกายน และ ''ตักลามิก'' ({{lang|tl|''taglamig''}}) หรือฤดูที่มีอากาศแห้งเย็นตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ [[มรสุม]]ตะวันตกเฉียงใต้ (ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม) มีชื่อเป็นภาษาท้องถิ่นว่า ''ฮากาบัต'' ({{lang|tl|''habagat''}}) และลมแห้งของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน) มีชื่อเป็นภาษาท้องถิ่นว่า ''อามีฮัน'' ({{lang|tl|''amihan''}})<ref name=climate/> อุณหภูมิโดยทั่วไปอยู่ในพิสัยตั้งแต่ 21 องศาเซลเซียส (70 องศาฟาเรนไฮต์) ถึง 32 องศาเซลเซียส (90 องศาฟาเรนไฮต์) แต่อาจเย็นหรือร้อนกว่านี้ขึ้นอยู่กับฤดูกาล เดือนที่มีอากาศเย็นที่สุดคือเดือนมกราคม ส่วนเดือนที่มีอากาศอบอุ่นที่สุดคือเดือนพฤษภาคม<ref name="About"/><ref>[[Lonely Planet]]. (n.d.). [http://www.lonelyplanet.com/philippines/weather Philippines: When to go & weather]. Retrieved January 23, 2009.</ref>
 
อุณหภูมิเฉลี่ยรายปีอยู่ที่ประมาณ 26.6 องศาเซลเซียส (79.9 องศาฟาเรนไฮต์)<ref name=climate>{{cite web|author = Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration |authorlink = Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration |url = http://kidlat.pagasa.dost.gov.ph/cab/cab.htm |archiveurl = https://web.archive.org/web/20100531021557/http://kidlat.pagasa.dost.gov.ph/cab/cab.htm |archivedate = May 31, 2010 |title = Climate of the Philippines |date = n.d. |accessdate = April 24, 2010}}</ref> ทั้งนี้ ทำเลที่ตั้งในแง่ละติจูดและลองจิจูดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการพิจารณาอุณหภูมิ เพราะไม่ว่าจะอยู่เหนือสุด ใต้สุด ตะวันออกสุด หรือตะวันตกสุดของประเทศ อุณหภูมิที่ระดับน้ำทะเลก็มีแนวโน้มที่จะอยู่ในพิสัยเดียวกัน ระดับความสูงของพื้นที่มักจะส่งผลต่ออุณหภูมิมากกว่า อุณหภูมิเฉลี่ยรายปีของเมือง[[บากีโย]]ที่ระดับความสูง 1,500 เมตร (4,900 ฟุต) จากระดับน้ำทะเลคือ 18.3 องศาเซลเซียส (64.9 องศาฟาเรนไฮต์) ทำให้เมืองนี้เป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมในฤดูร้อน<ref name=climate/>
บรรทัด 311:
{{บทความหลัก|การศึกษาในฟิลิปปินส์}}
*นโยบายทางการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน
 
หลังจากที่ฟิลิปปินส์ตกเป็นอาณานิคมของสเปนอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1571 ระบบการศึกษาในฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากนโยบายของจักรวรรดิสเปน สิ่งหนึ่งที่ถือเป็นเอกลักษณ์สำคัญในการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษาในสมัยนั้น คือ ระบบการศึกษาแบบคาทอลิก โดยศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาระบบการศึกษาทั้งในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัยภายในฟิลิปปินส์ เพราะเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของสเปนในการเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกในฟิลิปปินส์
ปัจจัยที่ส่งผลให้ศาสนจักรโรมันคาทอลิกประสบความสำเร็จในการปฏิรูประบบการศึกษาในประเทศฟิลิปปินส์คือ ปัจจัยด้านการถือครองที่ดิน เหตุเพราะศาสนาโรมันคาทอลิกถือครองที่ดินเป็นจำนวนมากภายในฟิลิปปินส์ ซึ่งส่งผลให้นักบวชนิกายโรมันคาทอลิกมีอิทธิพลและมีอำนาจมากในการปฏิรูประบบการศึกษา และประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกภายในฟิลิปปินส์
เส้น 318 ⟶ 319:
ในการปฏิรูประบบการศึกษาภายในฟิลิปปินส์ภายใต้อาณานิคมของสหรัฐ ยุทธศาสตร์สำคัญของสหรัฐ คือ ความพยายามที่จะทำให้ชาวฟิลิปปินส์มีความเป็นอเมริกันมากขึ้น (Americanization) ผ่านนโยบายการศึกษาที่ถูกคิดค้นขึ้นโดยชาวอเมริกัน
ตลอดระยะเวลาที่สหรัฐปกครองฟิลิปปินส์ มีการสนับสนุนให้ใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น เพื่อลดบทบาทการใช้ภาษาท้องถิ่น โดยกว่า 5 ทศวรรษของระบบการศึกษาแบบอเมริกัน นักเรียนฟิลิปปินส์ต้องศึกษาบทประพันธ์ของกวีตะวันตกชื่อดังมากมาย อาทิ วิลเลี่ยม เชคสเปียร์ เป็นต้น ส่งผลทำให้ชาวฟิลิปปินส์ให้ความสนใจกับวรรณคดีท้องถิ่นน้อยลง และใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนและในชีวิตประจำวันมากขึ้น
ถึงแม้ว่าสหรัฐ พยายามสอดแทรกวรรณกรรมตะวันตกในชีวิตประจำวันของชาวฟิลิปปินส์ แต่เมื่อเทียบกับยุคที่สเปนปกครองฟิลิปปินส์ก่อนหน้านั้น ถือได้ว่าชาวฟิลิปปินส์มีเสรีภาพในการแสดงผลงานด้านบทประพันธ์ กลอน และวารสารต่างๆต่าง ๆ ในภาษาท้องถิ่นมากกว่าในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปน
อย่างไรก็ตาม ผลงานวรรณกรรมของชาวฟิลิปปินส์กลับไม่ได้รับการบรรจุในวิชาภาษาและวรรณคดีในชั้นเรียนเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลทำให้ระบบการศึกษาแบบอเมริกันแตกต่างจากระบบการศึกษาในยุคที่เป็นอาณานิคมของสเปนโดยสิ้นเชิง นั่นคือ ชาวฟิลิปปินส์ในยุคที่ถูกปกครองโดยสหรัฐ ไม่มีโอกาสได้เรียนภาษาประจำชาติของตัวเอง เพราะภาษาท้องถิ่นถูกใช้เป็นเพียงตัวช่วยในการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เท่านั้น อีกทั้งสหรัฐยังผูกขาดการใช้ภาษาอังกฤษในระบบการศึกษา จวบจน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่ญี่ปุ่นเข้ายึดครองฟิลิปปินส์ในสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่ญี่ปุ่นไม่ได้มีบทบาทในการพัฒนาการศึกษาภายในประเทศฟิลิปปินส์