ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทยเชื้อสายเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| poptime = ประมาณ 2.3 ล้านคน <small> (ประมาณการปี 2555) </small>
| popplace = [[จังหวัดสุรินทร์]], [[จังหวัดบุรีรัมย์]], [[จังหวัดศรีสะเกษ]], [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] [[จังหวัดร้อยเอ็ด]] [[จังหวัดกาญจนบุรี]] [[จังหวัดมหาสารคาม]], [[จังหวัดปราจีนบุรี]], [[จังหวัดตราด]], [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]<ref>[http://www.8riewculture.info/vdn/index.php?c=showitem&item=361 ชาวไทยเชื้อสายเขมร] สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา</ref>, [[จังหวัดจันทบุรี]], [[จังหวัดสระแก้ว]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] [[จังหวัดราชบุรี]]<ref name="ราชบุรี" />, [[จังหวัดพิจิตร]]<ref>[http://phichitculture.net/cd/index.php?c=showitem&item=388 ชาวไทยเชื้อสายเขมร] สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร</ref>, [[จังหวัดนครปฐม]] และ[[กรุงเทพมหานคร]] <br> {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| langs = [[ภาษาไทย]], [[ภาษาเขมรเหนือถิ่นไทย]], [[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]], [[ภาษาเขมร]] และ[[ภาษาเขมรลาวเดิม]]
| rels = [[พระพุทธศาสนา]][[นิกายเถรวาท]]
}}
บรรทัด 13:
 
== ภาษา ==
:''{{ดูเพิ่มที่ [[|ภาษาเขมรเหนือ]]''ถิ่นไทย}}
ชาวไทยเชื้อสายเขมรนั้นจะมีภาษาที่แตกต่างออกไปจาก[[ภาษาเขมร]]ใน[[ประเทศกัมพูชา]] โดยภาษาเขมรที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรืออีสานใต้ จะเรียกว่า [[ภาษาเขมรเหนือถิ่นไทย]] หรือเขมรบน โดยมีความต่างจากภาษาเขมรในกัมพูชาในเรื่องของหน่วยเสียงสระ การใช้พยัญชนะ รากศัพท์ และไวยากรณ์ โดยผู้ใช้ภาษาเขมรเหนือถิ่นไทยจะสามารถเข้าใจภาษาเขมรทุกสำเนียง ส่วนผู้ใช้สำเนียงพนมเปญจะมีปัญหาในการทำความเข้าใจ นอกจากภาษาเขมรเหนือถิ่นไทยแล้ว ชาวไทยเชื้อสายเขมรกลุ่มอื่น ๆ ก็สามารถใช้ภาษาเขมรได้ดีโดยเฉพาะกลุ่มที่ติดชายแดนใกล้กับประเทศกัมพูชา อย่างเช่นแถบ[[จังหวัดสระแก้ว]] [[จังหวัดจันทบุรี]] และ[[จังหวัดตราด]]
 
แต่ขณะเดียวกันชุมชนชาวไทยเชื้อสายเขมรในหลายจังหวัดแถบภาคกลางของประเทศที่ตกอยู่ในวงล้อมที่รอบล้อมไปด้วย[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]] ทำให้ภาษาเขมรในถิ่นนั้นได้รับอิทธิพลของภาษาไทย โดยชุมชนเชื้อสายเขมรหลายชุมชนเลิกการใช้ภาษาเขมร โดยสงวนไว้เฉพาะคนเฒ่าคนแก่ ไม่เผยแพร่ต่อลูกหลาน อย่างเช่นในชุมชนชาวไทยเชื้อสายเขมรใน[[จังหวัดราชบุรี]] ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ (ฉบับหอสมุดแห่งชาติ) ก็ได้กล่าวถึงการกวาดต้อนเขมรจากเมืองโพธิสัตว์ เสียมราฐและพระตะบองมาไว้ที่ราชบุรี เขมรเหล่านี้ไม่ใช่เขมรลาวเดิมเพราะมีภาษาพูดที่แตกต่างกัน เขมรกลุ่มนี้ใช้ภาษาพูดเช่นเดียวกับเขมรในประเทศกัมพูชา โดยตั้งบ้านเรือนในเขต[[อำเภอเมืองราชบุรี]], [[อำเภอโพธาราม]] และ[[อำเภอปากท่อ]]<ref name="เขมรลาวเดิม">[http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=klongrongmoo&month=01-2010&date=03&group=12&gblog=28 ยายของผมเชื้อสายเขมร]</ref> แต่ปัจจุบันพบผู้พูดภาษาเขมรประมาณ 8-10 คน มีอายุระหว่าง 70-80 ปี แต่ไม่ได้ใช้ภาษาเขมรสื่อสารกับลูกหลาน เพียงแต่นึกศัพท์ได้เป็นคำๆ หรือพูดคุยกับคนรุ่นเดียวกันได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น<ref name="ราชบุรี">[http://www.snamcn.lib.su.ac.th/west/activities/seminar/240103/result4.htm แผนที่ภาษาศาสตร์4]</ref> เช่นเดียวกันกับชุมชนชาวไทยเชื้อสายเขมรใน[[จังหวัดนครปฐม]]ซึ่งมีอยู่ตั้งแต่ปากคลองเจดีย์บูชาสะพานรถไฟเสาวภา วัดแค ไปจนถึงวัดสัมปทวน เรียงรายไปตลอดริมแม่น้ำท่าจีน ประมาณ 1 กิโลเมตรประมาณ 30 ครอบครัว แต่มีผู้ใช้ภาษาเขมรเฉพาะผู้สูงอายุเท่านั้น<ref name="นครปฐม">[http://service.christian.ac.th/ncc/Ethnic/Kamain/Kamain_Mainframe.html ความนำ : ชุมชนเขมร] ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม</ref>